Page 19 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 19
ปัญหาก ารอ ่านแ ละการเขียนภ าษาอ ังกฤษ 14-9
2) การค าดคะเน (predicting) หมายถึง ผู้อ ่านใช้ความรู้ทางด ้านโครงสร้างภ าษา เพื่อค าด
คะเนช นิดของคำ�ที่จ ะพ บต่อไปในข้อค วามน ั้นๆ
3) การทดสอบ (testing) หมายถึง ผู้อ่านทดสอบว่าสิ่งที่เขาคาดคะเนไว้นั้นถูกต้องหรือไม่
โดยการท ดสอบค วามห มายที่ได้จ ากส ิ่งท ี่เขาอ่านกับค วามห มายข ้อความร อบข้างท ี่ป รากฏในข้อความนั้น
4) การย ืนยันเพื่อค วามม ั่นใจ (confirming) หมายถ ึง ผู้อ ่านย ืนยันเพื่อให้เกิดค วามม ั่นใจว ่า
สิ่งท ี่เขาคาดคะเนนั้นมีความหมายถูกต ้อง
5) การแก้ไขเมื่อจำ�เป็น (correcting when necessary) หมายถ ึง ผู้อ ่านย้อนกลับไปเลือก
สิ่งชี้นำ�ใหม่ หลังจ ากทดสอบหรือย ืนยันจ นเกิดความม ั่นใจแล้วว ่า สิ่งท ี่เขาค าดค ะเนไว้นั้นผ ิดพลาด
กระบวนการอ ่านด ังก ล่าวจ ะด ำ�เนินเป็นว งจรพ ร้อมก ับก ารใชส้ ิ่งช ี้นำ�ทั้งส ามแ บบด ังไดก้ ล่าวไวข้ ้างต ้น
แต่ค วามส ำ�คัญข องส ิ่งช ี้นำ�ทั้งส ามจ ะแ ตกต ่างก ันไป ทั้งนี้ข ึ้นอ ยู่ก ับร ะดับข องผ ู้อ ่าน เช่น ผู้อ ่านท ี่ใช้ส ิ่งช ี้นำ�ด้าน
การเรียงล ำ�ดับค ำ�และความหมายจ ะเข้าใจสิ่งที่อ่านมากกว่าผ ู้อ่านท ี่ใช้สิ่งช ี้นำ�ด้านอ ักษรและเสียง เป็นต้น
ตัวอย่างรูปแบบกระบวนการอ ่านจากย อดสู่ฐานอีกรูปแบบหนึ่ง คือ รูปแบบข อง Smith (1973) ซึ่ง
กล่าวว ่า กระบวนการอ ่านไม่ใช่ก ระบวนการท ี่เกี่ยวข้องก ับข ้อมูลท ี่ม องเห็นเป็นส ำ�คัญเท่านั้น แต่เป็นกร ะบ วน
การที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล 2 ประเภท คือ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษรบนหน้ากระดาษที่ปรากฏต่อสายตา (visual
information) และข ้อมูลไม่ปรากฏต ่อส ายตา (non-visual information) หรือข ้อมูลท ี่ได้จากป ระสบการณ์
เดิม โดยข้อมูลที่ปรากฏต่อสายตาจะมีความสำ�คัญต่อความเข้าใจน้อยกว่าข้อมูลจากประสบการณ์เดิมของ
ผู้อ ่าน ซึ่งม ีความสำ�คัญมากต ่อก ระบวนการอ่านเพื่อค วามเข้าใจ
3. รูปแบบการอ่านปฏิสัมพันธ์ (interactive reading model) กระบวนการอ่านแบบปฏิสัมพันธ์
คือ กระบวนการอ ่านร ูปแ บบที่ 1 และ 2 เกิดขึ้นพร้อมๆ กันภ ายในต ัวผู้อ ่านและมีผลต ่อก ารทำ�ความเข้าใจ
บทอ ่าน กล่าวค ือ ผู้อ่านต ้องใช้ค วามร ู้ค วามเข้าใจที่มีอ ยู่เดิม และเนื้อหาข องบทอ่านในก ารท ำ�ความเข้าใจบท
อ่าน เมื่อผ ู้อ่านได้รับข้อมูลใหม่จ ากกระบวนการจ ากฐานส ู่ยอด หรือก ระบวนการจากย อดสู่ฐานก็จ ะใช้ค วาม
รู้เดิมที่มีอยู่ช ี้นำ�การตีความข้อมูลนั้น หากข้อมูลกับสิ่งท ี่ค าดเดามีความสอดคล้องกัน ข้อมูลใหม่ก็จ ะเกิดขึ้น
ทันที แต่ห ากค วามร ู้เดิมไม่ช ่วยให้เกิดค วามเข้าใจ ผู้อ ่านต ้องแ ก้ไขก ารต ีความจ นกว่าจ ะส ร้างค วามห มายแ ละ
นำ�ไปสู่ความเข้าใจไ ด้
ตัวอย่างร ูปแ บบก ารอ ่านป ฏิสัมพันธ์ คือ รูปแ บบของ Rumelhart (1977 อ้างอิงใน Barnett, 1989:
23-26) ซึ่งกล่าวว่า การอ่านเป็นกระบวนการที่เกิดจากการเข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่าน และกระบวนการ
ใช้ความรู้ของผู้อ่าน ซึ่งกระบวนการทั้งสองมีความสัมพันธ์และเกิดขึ้นพร้อมกัน เขาได้กล่าวต่อไปว่า เมื่อ
ผู้อ่านมองเห็นคำ�และตัวอักษรซ ึ่งเป็นตัวสะกด ขณะท ี่อ่านก็จะบันท ึกข้อมูลนั้นไว้ในสมอง และจ ะดึงเอาคำ�
หรือข ้อมูลท ีส่ ำ�คัญอ อกม าเพื่อท ำ�ความเข้าใจบ ทอ ่าน จากน ั้นจ ึงใช้ค วามร ูเ้ดิมท ีม่ อี ยูท่ ั้งหมดไมว่ ่าจ ะเป็นค วาม
รู้ในเรื่องการสะกด คำ� โครงสร้าง ประโยค คำ�ศัพท์ และเนื้อหา มาช่วยตีความในส ิ่งที่ได้อ ่านเพื่อน ำ�ไปสู่ค วาม
เข้าใจในท ี่สุด อย่างไรก ็ตามในการส ร้างค วามเข้าใจของผู้อ่านน ั้น จะต้องตรงก ับความตั้งใจข องผ ู้เขียนและ
เนื่องจากความรู้เดิมที่ผู้อ ่านแ ต่ละคนน ำ�เข้ามาในก ระบวนการม ีค วามแ ตกต ่างก ัน ดังนั้นความห มายท ี่ผ ู้อ ่าน
แต่ละค นตีความได้จากบทอ่านอ าจไม่เหมือนกัน