Page 20 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 20

14-10 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา

       Irwin (1991) มีค​ วาม​เห็นว​ ่า การ​อ่าน​เป็นก​ระ​บวน​การ​ที่​เกิดข​ ึ้น​ระหว่างผ​ ู้​อ่าน และบทอ​ ่าน (text)
ซึ่งส​ ่งผ​ ลใ​หเ้​กิดก​ ารส​ ร้างค​ วามห​ มายใ​นใ​จข​ องผ​ ูอ้​ ่าน การอ​ ่านเ​ป็นการส​ ร้างค​ วามห​ มายอ​ ันม​ ปี​ ระโยชนแ์​ กผ่​ ูอ้​ ่าน
กระบวนการอ​ ่าน​เพื่อ​ความเ​ข้าใจท​ ี่ Irwin ได้​เสนอไ​ว้ป​ ระกอบ​ด้วย 5 กระบวนการด​ ังนี้

       1. 	 Microprocesses ภาระง​ าน​อันดับแ​ รก​ที่ผ​ ู้​อ่านต​ ้อง​ปฏิบัติ​ในก​ ารอ​ ่าน คือ การห​ าความ​หมายจ​ าก​
หน่วย​ความ​คิด​ย่อย (individual idea units) ในแ​ ต่ละ​ประโยคแ​ ละต​ ้องต​ ัดสิน​ใจว​ ่าห​ น่วยค​ วามค​ ิดใ​ดต​ ้อง​
จดจำ� ภาระ​งาน​นี้​จะ​บรรลุ​ได้​ต้องป​ ระกอบด​ ้วยก​ าร​ใช้ก​ ระบวนการ​ย่อย (sub-processes) 2 กระบวนการ​ใน​
การ​ทำ�ความเ​ข้าใจแ​ ต่ละ​ประโยค คือ

            1.1		Chunking คือ การท​ ี่​ผู้อ​ ่านอ​ ่าน​ข้อความ​และจ​ ัดก​ ลุ่ม​คำ�​ที่​อ่านใ​ห้​เป็นว​ ลี​ที่​มี​ความห​ มาย
เช่น After today,/I will consider/resigning/in seven days,/and by that time,/I will see/who is
suitable/in the six coalition parties/to replace me.

            1.2 	Microselection คอื การเ​ลอื กห​ นว่ ยค​ วามค​ ดิ เ​พือ่ จ​ ดจ�ำ เมือ่ อ​ า่ นข​ อ้ ความท​ ยี​่ าวข​ ึน้ เพราะ​
เปน็ ไ​ปไ​มไ​่ ดท้ ผี​่ อู​้ า่ นจ​ ะจ​ ดจ�ำ ​รายล​ ะเอยี ดไ​ดท​้ ัง้ หมด ดงั น​ ัน้ จ​ งึ ต​ อ้ งพ​ จิ ารณาเ​ลอื กเ​ฉพาะส​ ิง่ ท​ สี​่ �ำ คญั จากต​ วั อยา่ ง​
ใน​ข้อ 1.1 ใจความส​ ำ�คัญ คือ I will consider resigning, and I will see who to replace me.

       2. 	 Integrative Processes ผู้อ​ ่านจ​ ะส​ ามารถร​ ะลึกค​ วาม (recall) ที่​อ่านไ​ด้ถ​ ้าค​ วามค​ ิดย​ ่อยไ​ด้ร​ ับก​ าร​
เชื่อมโ​ยง​ให้ม​ ี​ความส​ ัมพันธ์ก​ ัน กระบวนการ​ย่อย​ในข​ ั้นต​ อนน​ ี้​ประกอบด​ ้วย

            2.1 	Understanding connectives คือ การ​ที่ผ​ ู้อ​ ่านเ​ข้าใจ​ความห​ มาย​ของค​ ำ�​เชื่อมต​ ่างๆ ใน​
ประโยค เช่น so that, so.. that, whereas, although เป็นต้น

            2.2 	Understanding anaphora คือ การ​ที่​ผู้​อ่าน​เชื่อม​โยง​คำ�​หรือ​กลุ่ม​คำ�​ที่​ใช้​แทน​คำ�​หรือ​
กลุ่มค​ ำ�​ที่ไ​ด้ก​ ล่าวม​ า​ก่อนแ​ ล้ว

            2.3 	Slot-filling inferences คอื การท​ ผี​่ อู​้ า่ นอ​ นมุ านค​ วามโ​ดยอ​ าศยั ป​ ระสบการณเ​์ ดมิ เกีย่ วก​ บั
​เรื่อง​ที่อ​ ่าน

       3. 	 Macroprocessess เป็นกร​ ะบ​ วนก​ ารท​ ี่ต​ ้องส​ ังเคราะห์ข​ ้อมูลท​ ี่อ​ ่านแ​ ละจ​ ัดร​ ะบบข​ ้อมูลใ​หม่ เพื่อท​ ี่​
ผู้อ​ ่าน​สามารถเ​ก็บ​ข้อมูลไ​ว้​ใน​ความ​ทรง​จำ�​ได้​อย่าง​มีป​ ระสิทธิภาพ กระบวนการย​ ่อยป​ ระกอบด​ ้วย

            3.1 	Summarizing คือ​การ​ที่​ผู้​อ่านส​ รุป​ความแ​ ละจ​ ับใจ​ความ​สำ�คัญข​ อง​บทอ​ ่าน​ได้
            3.2 	Organizing คือ การท​ ี่ผ​ ู้อ​ ่าน​รู้​ระบบ​การเ​รียบเ​รียงบ​ ท​อ่านซ​ ึ่ง​แยก​เป็น 2 ประ​เภทใ​หญ่ๆ
คือบ​ ทอ​ ่านเ​กี่ยวก​ ับเ​รื่องเ​ล่า (narrative text) และบ​ ทอ​ ่านท​ ี่ใ​ห้ค​ วามร​ ู้ (expository text) ผอู้​ ่านค​ วรท​ ราบว​ ่า​
โครงสร้าง​ของบ​ ทอ​ ่านเ​รื่อง​เล่าป​ ระกอบ​ด้วย ฉาก (setting) เหตุการณ์​เริ่มต​ ้น (initiating events) การ​ตอบ​
สนองภ​ ายใน (internal response) ความพ​ ยายาม (attempt) ผลส​ ืบเ​นื่อง (consequence) และป​ ฏิกิริยา
(reaction) ส่วนบ​ ทอ​ ่านท​ ีใ่​หค้​ วามร​ ูม้​ โี​ครงสร้างข​ ้อเ​ขียนท​ ีจ่​ ัดเ​ป็นโ​ครงสร้างร​ ะดับส​ ูง 5 ประเภท คือ โครงสร้าง​
เชิงบ​ รรยาย ให้ร​ าย​ละเอียด ให้​เหตุผล​เปรียบ​เทียบ วิเคราะห์​ปัญหา​และ​แนวทางแ​ ก้ไข
       4. 	 Elaborative Processes เป็นกร​ ะ​บวนก​ ารท​ ี่​ผู้​อ่าน​สร้างค​ วามห​ มาย​จากส​ ิ่งท​ ี่อ​ ่าน​โดยผ​ ู้แ​ ต่ง​ไม่ไ​ด้​
กล่าวไ​ว้​อย่าง​ตรงไ​ปต​ รงม​ า กระบวนการ​นี้ป​ ระกอบ​ด้วย
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25