Page 27 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 27

ปัญหาก​ ารอ​ ่าน​และ​การ​เขียนภ​ าษา​อังกฤษ 14-17

            3.2 	ความ​สามารถ​ใน​การ​ตรวจ​สอบ เป็นการ​มอง​ย้อน​กลับ​ไป​ตรวจ​สอบ​แผนการ​ที่​ได้​วาง​เอา​
ไว้ และก​ ารม​ องไ​ปข​ ้างห​ น้าเ​พื่อว​ างข​ ั้นต​ อนท​ ี่​เหมาะส​ มต​ ่อไ​ป รวมท​ ั้งก​ ารเ​อาใจใ​ส่ต​ ่อส​ ิ่งท​ ี่ก​ ำ�ลังป​ ฏิบัติอ​ ยู่ และ​
การว​ างก​ ฎเ​กณฑ์​เพื่อ​กำ�หนด​ประสิทธิผล​และค​ วามถ​ ูกต​ ้อง

            3.3 	ความ​สามารถ​ใน​การ​ประเมิน เป็นการ​ตรวจ​สอบ​คุณภาพ​ของ​ผล​งาน​ที่​ได้​เสร็จ​สิ้น​ลง
คุณภาพ​ของ​ขั้น​ตอน​ที่​ใช้​ใน​การ​ปฏิบัติ​งาน และ​คุณภาพ​ของ​แผนการ​โดย​รวม รวม​ทั้ง​วิธี​การ​ปรับ​เปลี่ยน​
แผนการ​ใน​อนาคต​ต่อไ​ ป

       Schmit (1990) กล่าวว​ ่า ผู้​ที่​มี​ความส​ ามารถ​ใน​การ​อ่าน​สูง​ตระหนักถ​ ึง​กระบวนการ​ที่​ตน​ใช้​ใน​การ​
ทำ�ความเ​ข้าใจเ​ป็นอ​ ย่างด​ ี จะเ​ลือกสรรแ​ ละใ​ช้ก​ ลวิธีท​ ี่เ​หมาะส​ ม และต​ รวจส​ อบค​ วามเ​ข้าใจข​ องต​ นใ​นข​ ณะอ​ ่าน
เพื่อท​ ำ�ความเ​ข้าใจแ​ ละจ​ ดจำ�​ข้อมูลท​ ีอ่​ ่าน งานว​ ิจัยห​ ลายช​ ิ้นไ​ดแ้​ สดงใ​หเ้​ห็นว​ ่า กลวิธใี​นก​ ารค​ วบคุมค​ วามเ​ข้าใจ​
หรืออ​ ภิ​ปัญญาเ​ป็น​สิ่ง​ที่ส​ ามารถส​ อน​ได้ เช่น Baumann, Scifert-Kassell และ Jones (Schmitt, 1990) ได้​
ใช้​เทคนิค​คิด​ดัง (think-aloud technique) เพื่อ​ช่วย​ให้​นักเรียน​ตรวจ​สอบ​ความ​เข้าใจ​ของ​ตน​ใน​ระหว่าง​
อ่าน​ได้ Paris และ Jacob (1984) และ Schmit (Schmitt, 1990) กม็​ ี​ความเ​ห็น​ว่าการต​ ระหนักถ​ ึง​กลวิธ​ี
อภป​ิ ญั ญาเ​ปน็ ค​ ณุ สมบตั ขิ​ องผ​ อู​้ า่ นท​ สี​่ ามารถ ดงั น​ ัน้ จ​ งึ เ​ปน็ ป​ ระโยชนส์​ �ำ หรบั ค​ รผ​ู สู​้ อนถ​ า้ ม​ โ​ี อกาสป​ ระเมนิ ค​ วาม​
ตระหนักใ​น​กลวิธี​อภิป​ ัญญาข​ องน​ ักเรียน เพราะท​ ำ�ให้​ครูส​ ามารถจ​ ัดโ​ปรแกรม​การ​อ่าน วาง​วางแผนก​ ารส​ อน​
ทีเ่​หมาะส​ ม รวมท​ ัง้ พ​ ัฒนาก​ ลวิธอ​ี ภป​ิ ัญญาใ​หแ้​ กน่​ ักเรียนไ​ดด้​ ้วย และห​ ลังจ​ ากท​ ีค่​ รไ​ู ดป้​ ระเมินก​ ลวิธอ​ี ภปิ​ ัญญา​
ของ​นักเรียนต​ น​แล้ว ครู​ก็​สามารถช​ ่วย​พัฒนาก​ ลวิธี​อภิ​ปัญญาใ​ห้​แก่น​ ักเรียน​ของ​ตนไ​ด้อ​ ย่างเ​หมาะส​ ม ในท​ ี่​นี​้
ขอ​เสนอ​วิธีก​ าร​พัฒนา​กลวิธีอ​ ภิ​ปัญญา​ในก​ าร​อ่าน 2 วิธีด​ ้วยก​ ัน ดังนี้

       1. 	 Reciprocal Teaching
       Brown และ Palincsar (1984) ได้เ​สนอ​วิธี​พัฒนาก​ ลวิธีอ​ ภิป​ ัญญา​ที่​เรียกว​ ่า “Reciprocal Teach-
ing” ซึ่งผ​ ล​จาก​ การว​ ิจัย พบว​ ่าเ​ป็นว​ ิธี​ที่​ใช้ได้ผ​ ล และม​ ีป​ ระสิทธิภาพว​ ิธี​หนึ่ง วิธีด​ ัง​กล่าว​มีล​ ักษณะ​เน้นก​ ารม​ ี​
ปฏิสัมพันธ์​ใน​การ​ถาม-ตอบร​ ะหว่างค​ รู​กับ​นักเรียน โดยที่​นักเรียน​ต้องส​ ลับบ​ ทบาท​จาก​ผู้​ตอบ​เป็น​ผู้​ถาม วิธ​ี
นี้ส​ ามารถช​ ่วยน​ ักเรียนท​ ี่ม​ ปี​ ัญหาใ​นก​ ารท​ ำ�ความเ​ข้าใจบ​ ทอ​ ่านไ​ดร้​ ับก​ ารกร​ ะต​ ุ้น และฝ​ ึกใ​หใ้​ชท้​ ักษะอ​ ภิป​ ัญญา​
โดย​ผ่าน​กระบวนการ​ตอบโต้​และ​ซัก​ถาม​ระหว่าง​นักเรียน​และ​ครู อัน​จะ​สนับสนุน​ให้​เกิด​การ​มี​ปฏิสัมพันธ์​
ระหว่างก​ าร​สอน วิธี​ที่​จะช​ ่วย​ฝึกใ​ห้​นักเรียน​พัฒนาท​ ักษะ​อภิป​ ัญญา​มีด​ ังต​ ่อ​ไปน​ ี้

            1.1 	การส​ รุป​ความ (Summarizing) วิธนี​ ี้จ​ ะฝ​ ึกใ​ห้น​ ักเรียนส​ ามารถก​ ำ�หนดใ​จความห​ ลักข​ อง​
สิ่งท​ ี่อ​ ่าน และส​ รุป​ความ​ได้​โดยใ​ช้​คำ�​พูด​ของต​ นเอง

            1.2 	การ​สร้าง​คำ�ถาม (Question generating) วิธี​นี้​จะ​ฝึก​ให้​นักเรียน​รู้จัก​ตั้ง​คำ�ถาม​ถาม​
ตนเอง​ว่า ข้อมูล​ส่วนใ​ด​จากบ​ ทอ​ ่าน​ที่​มักจ​ ะ​ใช้เ​ป็นพ​ ื้นฐ​ านข​ องก​ ารต​ ั้งค​ ำ�ถาม​ในข​ ้อสอบ

            1.3 	การ​สร้าง​ความ​กระจ่าง (Clarifying) วิธี​นี้​จะ​ฝึก​ให้​นักเรียน​รู้จัก​หา​วิธี​ที่​เหมาะ​สมใน​การ​
ทำ�ความเ​ข้าใจ​บท​อ่าน เช่น อ่าน​ล่วงห​ น้า​ต่อไ​ป หรือ​ขอ​ความช​ ่วยเ​หลือ​จาก​ผู้​รู้ ในก​ รณีท​ ี​่เกิดอ​ ุปสรรค​ใน​การ​
ทำ�ความเ​ข้าใจ​บท​อ่าน เป็นต้น

            1.4 	การ​คาด​คะเน (Predicting) วิธี​นี้​จะ​ฝึก​ให้​นักเรียน​รู้จัก​ตั้ง​สมมติฐาน​เกี่ยว​กับ​สิ่ง​ที่​จะ​
ปรากฏต​ ่อ​ไป โดยอ​ าศัย​โครงสร้าง​เนื้อหา​ของ​เรื่อง
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32