Page 24 - สัมมนาทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
P. 24

8-14 สัมมนาทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

เ​พิ่มข​ ึ้น ใหม้​ ุมม​ องท​ ี่ก​ ว้างก​ ว่าก​ ารใ​หต้​ อบแ​ บบสอบถาม แต่ม​ ีข​ ้อจ​ ำ�กัด คือ เสียเ​วลาแ​ ละค​ ่าใ​ชจ้​ ่ายม​ ากกว่า และ​
ผู้ส​ ัมภาษณ์​ต้อง​ได้​รับก​ าร​ฝึกฝน จึงจ​ ะไ​ด้ข​ ้อมูลท​ ี่​ถูก​ต้อง​และ​รวดเร็ว

       1.3 	 การ​สังเกต เป็นการ​เฝ้า​ดู​สิ่งของ ปรากฏการณ์ การ​ปฏิบัติ​งาน และ​บุคคล​ตาม​สภาพ​ความ
​เป็น​จริง โดย​ใช้​ประสาท​สัมผัส​ต่างๆ หรือ​ใช้​เครื่อง​มือ​อื่นๆ​ ประกอบ เช่น กล้อง​ถ่าย​รูป​และ​จด​บันทึก​สิ่ง​ที่​
พบเห็น เป็น​วิธี​ที่​นิยม​ใช้​กับก​ าร​วิจัยเ​ชิงค​ ุณภาพ ข้อดี​ของ​วิธี​นี้ คือ ได้​เห็นข​ ้อมูลท​ ี่​เป็นจ​ ริง​เหมาะก​ ับ​การว​ ัด​
ด้านท​ ักษะพ​ ิสัย (การป​ ฏิบัติ) และ​จิตพ​ ิสัย (คุณธรรมจ​ ริยธรรม) จะ​ได้​ข้อมูลต​ ามส​ ภาพท​ ี่เ​ป็นจ​ ริง ข้อจ​ ำ�กัด
คือ ใช้​เวลาน​ าน ค่าใ​ช้​จ่ายส​ ูง และ​ผู้​สังเกตต​ ้อง​มี​ประสบการณ์​ในก​ าร​ติดตามส​ ังเกตพ​ ฤติกรรมไ​ด้

       1.4 	 การ​ทดสอบ เป็นการ​วัด​ความ​สามารถ​ทาง​สติ​ปัญญา เช่น วัด​ความ​รู้ การ​ใช้​เหตุผล ข้อดี คือ
เป็นการส​ ะท้อน​ผลท​ ี่ไ​ด้​จาก​การส​ อน หรือ​การอ​ บรม ข้อ​จำ�กัด คือ เป็นการ​วัดค​ วามร​ ู้ ความจ​ ำ� ไม่​ครอบคลุม​
การ​วัดท​ ักษะ​ปฏิบัติ และ​คุณธรรมจ​ ริยธรรม เป็นต้น

       1.5 	 การ​ประเมิน​ผล​จาก​สภาพ​จริง (Authentic Assessment) เป็นก​ระ​บวน​การ​สังเกต การ​บันทึก
และ​รวบรวม​ข้อมูลจ​ ากง​ านแ​ ละ​วิธีก​ ารท​ ี่ผ​ ู้​เรียนท​ ำ�​ในห​ ลายๆ​ ด้าน​โดยใ​ช้​วิธีก​ ารท​ ี่ห​ ลากห​ ลาย การป​ ระเมิน​ผล​
จาก​สภาพจ​ ริง​เน้น​ให้​ผู้เ​รียนส​ ามารถ​แก้​ปัญหา เป็นผ​ ู้​ค้นพ​ บ และผ​ ู้​ผลิตค​ วามร​ ู้ ผู้​เรียน​ได้ฝ​ ึก​ปฏิบัติจ​ ริง และ​
เน้นพ​ ัฒนาการเ​รียน​รู้ข​ อง​ผู้​เรียน

       ลักษณะส​ ำ�คัญข​ องก​ ารป​ ระเมินผ​ ลต​ ามส​ ภาพจ​ ริงเ​ป็น ได้แก่ (1) การป​ ระเมินผ​ ลท​ ีเ่​น้นก​ ารป​ ฏิบัตจิ​ าก​
สภาพจ​ ริง (2) การก​ ำ�หนดง​ าน​หรือป​ ัญหาแ​ บบป​ ลาย​เปิด เพื่อ​ให้ผ​ ู้​เรียน​เป็นผ​ ู้ส​ ร้าง​คำ�​ตอบ​เอง ด้วยก​ าร​ทำ�งาน
หรือผ​ ลิตผล​งาน (3) การป​ ระเมินท​ ักษะท​ ี่​ซับ​ซ้อนใ​ช้ค​ วาม​คิดร​ ะดับ​สูง (4) การใ​ช้​ข้อมูลห​ ลาย​อย่าง เพื่อ​การ​
ประเมิน​โดยใ​ช้​วิธีก​ ารแ​ ละ​เครื่องม​ ือห​ ลาย​ประเภท เช่น การ​สังเกต การ​สัมภาษณ์ การ​ตรวจง​ าน การร​ ายงาน​
ตนเอง การบ​ ันทึก การส​ อบ​แบบ​เน้นป​ ฏิบัติ​จริง แฟ้มส​ ะสมง​ าน เป็นต้น (5) การป​ ระเมิน​มี​ส่วน​ร่วม​ระหว่าง​
ครู ผู้​เรียน​และผ​ ู้ป​ กครอง

       ข้อดีข​ อง​การ​ประเมินต​ าม​สภาพ​จริง คือ ทำ�ให้ค​ ุณลักษณะห​ รือพ​ ฤติกรรม​ที่​วัดเ​ป็น​รูปธ​ รรม​มากข​ ึ้น​
โดยใ​ชว​้ ธิ กี​ ารป​ ระเมนิ ห​ ลายร​ ูปแ​ บบอ​ ยา่ งต​ ่อเ​นือ่ งแ​ ละต​ ามค​ วามเ​ปน็ จ​ ริง การป​ ระเมนิ ไ​มแ่​ ยกอ​ อกจ​ ากก​ ารเ​รยี น​
การส​ อน ผูเ้​รียนจ​ ะไ​ม่รูส้​ ึกว​ ่าถ​ ูกป​ ระเมิน จึงป​ ฏิบัตงิ​ านต​ ามป​ กติ นอกจากน​ ีข้​ ้อดขี​ องก​ ารป​ ระเมินป​ ระเภทน​ ี้ คือ
ส่งเ​สริม​การเ​รียน​รู้​ตามค​ วามแ​ ตกต​ ่างข​ องผ​ ู้เ​รียน และ​ส่งผ​ ล​ต่อก​ าร​พัฒนาค​ ุณภาพก​ ารส​ อน​ของ​ครู ข้อจ​ ำ�กัด​
ของก​ าร​ประเมินต​ ามส​ ภาพจ​ ริง หากค​ รูไ​ม่เ​ข้าใจ​ไม่ย​ อมรับ​จะไ​ม่​สามารถ​ประเมิน​ตามส​ ภาพจ​ ริงไ​ด้ และท​ ำ�ให้​
ครูม​ ี​ภาระง​ าน​เพิ่ม​มากข​ ึ้น เพราะต​ ้องป​ ระเมินอ​ ย่าง​ต่อ​เนื่อง

       1.6 	 การว​ ดั ผลภ​ าคป​ ฏบิ ตั ิ (Performance Assessment) เป็นการว​ ัดผลง​ านท​ ี่ใ​ห้น​ ักเรียนล​ งมือป​ ฏิบัติ
ซึ่งส​ ามารถ​วัด​ได้ท​ ั้งก​ ระบวนการ​และ​ผลง​ าน ในส​ ถานการณ์จ​ ริง หรือใ​น​สถานการณ์​จำ�ลอง สิ่ง​ที่​ควรค​ ำ�นึงใ​น​
การส​ อบ​วัดภ​ าค​ปฏิบัติ คือ (1) ขั้น​เตรียม​งาน (2) ขั้น​ปฏิบัติ​งาน (3) เวลา​ที่​ใช้ใ​นก​ าร​ทำ�งาน (4) ผลง​ าน ดัง​นั้น
การส​ ร้างเ​ครื่องม​ ือใ​นก​ ารว​ ัด ควร (1) กำ�หนดท​ ักษะท​ ี่ว​ ัดจ​ ากจ​ ุดป​ ระสงค์ก​ ารเ​รียน (2) กำ�หนดข​ ั้นต​ อนข​ องก​ าร​
ปฏิบัติ​งานท​ ี่จ​ ะว​ ัด (3)กำ�หนดก​ ิจกรรม​ในแ​ ต่ละ​ขั้น​ตอน (4) กำ�หนดร​ ายการ​ปฏิบัติใ​น​แต่ละข​ ั้นต​ อน (5) เขียน​
รายการ สาระ​ของ​งาน และ (6) กำ�หนด​เกณฑ์​การ​ตัดสิน ผู้ว​ ัดค​ วร​ใช้​การ​สังเกต​ควบคู่​ไปก​ ับก​ าร​บันทึก​ผลก​ าร​
สังเกต​ใน​แบบ​ประเมิน และค​ วร​มีค​ ำ�​ชี้แจง​ที่​ชัดเจน​และ​สมบูรณ์
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29