Page 27 - สัมมนาทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
P. 27

สัมมนาด้านการประเมินทางการศึกษา 8-17

       2.3 	 แบบ​วัด​เจตคติ เป็น​ชุด​ของ​คำ�ถาม​เกี่ยว​กับ​ความ​รู้สึก หรือ​ท่าที​ของ​ผู้​ตอบ​ต่อ​เรื่อง​ใด​เรื่อง​หนึ่ง
การ​วัดเ​จตคติ​มีข​ ้อต​ กลงเ​บื้อง​ต้น​ว่า สามารถว​ ัดเ​จตคติโ​ดยก​ าร​ถามผ​ ู้​ตอบแ​ ต่ละ​คน เพื่อใ​ห้ต​ อบส​ นอง​ต่อ​ชุด​
ของ​ข้อความเ​กี่ยว​กับค​ วามช​ อบ มาตร​วัด​เจตคติ​ที่​นิยมใ​ช้ คือ มาตรว​ ัดเ​จตคติ​ของ​ลิเ​คิร์ท (Likert’s Scale)
และ​มาตร​จำ�แนก​ความ​หมายข​ องอ​ อ​สกูด (Semantic Differential Scale)

       ข้อดี​ของแ​ บบ​วัด​เจตคติ สามารถว​ ัด​เจตคติซ​ ึ่ง​เครื่องม​ ืออ​ ื่น​ไม่​สามารถ​วัด​ได้
       ขอ้ จ​ �ำ กดั ข​ องแ​ บบว​ ดั เ​จตคติ การส​ รา้ งเ​ครือ่ งม​ อื ใ​หม​้ ค​ี ณุ ภาพด​ ส​ี รา้ งไ​ดย​้ าก และต​ อ้ งอ​ าศยั ผ​ เู​้ ชีย่ วชาญ​
ในก​ ารส​ ร้าง
       2.4 	แบบ​สัมภาษณ์​เป็น​ชุด​ของ​คำ�ถาม​ที่​ผู้​ประเมิน​หรือ​ผู้​รวบรวม​ข้อมูล​ใช้​ถาม​ผู้​ให้​ข้อมูล และ​เมื่อ​
ได้​คำ�​ตอบ ผู้ป​ ระเมินเ​ป็นผ​ ู้​บันทึกค​ ำ�​ตอบใ​น​แบบส​ ัมภาษณ์ บางค​ รั้งอ​ าจใ​ช้​แบบสอบถามเ​ป็นแ​ บบส​ ัมภาษณ​์
โดย​ผู้​สัมภาษณ์​เป็น​ผู้​บันทึก​คำ�​ตอบแทน​ผู้​ให้​ข้อมูล โดย​ทั่วไป แบบ​สัมภาษณ์​อาจ​กำ�หนด​รายการ​คำ�ถาม​
ไม่ล​ ะเอียด​เท่าแ​ บบสอบถาม เนื่องจากผ​ ู้​สัมภาษณ์​อาจใ​ห้​ราย​ละเอียด​เพิ่มเ​ติมไ​ด้
       ข้อดีข​ องแ​ บบส​ ัมภาษณ์ เป็นเ​ครื่องม​ ือท​ ี่ช​ ่วยใ​นก​ ารก​ ำ�หนดป​ ระเด็นก​ ารถ​ าม และท​ ำ�ให้บ​ ันทึกค​ ำ�​ตอบ​
ของผ​ ู้​ให้​สัมภาษณ์​ได้ช​ ัดเจน รวดเร็ว สามารถ​ใช้ร​ วบรวม​ข้อมูลจ​ าก​ผู้​ให้ข​ ้อมูล​ทุกก​ ลุ่ม​แม้​จะ​อ่านเ​ขียนไ​ม่ไ​ด้
       ข้อจ​ �ำ กดั ข​ องแ​ บบส​ ัมภาษณ์ การบ​ นั ทึกข​ อ้ มูลใ​นแ​ บบส​ มั ภาษณอ์​ าจค​ ลาดเ​คลือ่ นจ​ ากค​ วามเ​ปน็ จ​ รงิ ไ​ด​้
ใน​กรณี​ผู้​สัมภาษณ์​หรือ​ผู้บ​ ันทึก​ข้อมูลไ​ม่เ​ข้าใจค​ ำ�ถาม คำ�​ตอบ หรือ​ตีความ​คำ�​ตอบ​ผิด​ไป​จากค​ วาม​เป็น​จริง
       2.5 	 แบบ​สังเกต เป็น​เครื่อง​มือ​ที่​ใช้​บันทึก​ข้อมูล​จาก​การ​สังเกต​พฤติกรรม​หรือ​ปรากฏการณ์ แบบ​
สังเกต​ประกอบ​ด้วย​รายการ​พฤติกรรม​ที่​ต้องการ​สังเกต และ​ลักษณะ​ของ​พฤติกรรม​ที่​บันทึก นิยม​ใช้​แบบ​
ตรวจส​ อบร​ ายการ (Check list) แบบ​มาตรป​ ระมาณ​ค่า (Rating scale) หรือ​ระเบียน​พฤติการณ์ (Anec-
dotal records) ในก​ ารไ​ปส​ งั เกต ผูส​้ งั เกตอ​ าจส​ งั เกตโ​ดยเ​ขา้ ไปม​ ส​ี ่วนร​ ่วมใ​นก​ จิ กรรมท​ ีไ่​ปส​ ังเกตห​ รือเ​ป็นเ​พียง
​ผู้​สังเกตโ​ดยไ​ม่ไ​ด้เ​ข้าไป​ร่วมก​ ิจกรรมก​ ็ได้
       ข้อดี​ของ​แบบ​สังเกต แบบ​สังเกต​ช่วย​ให้​ได้​ข้อมูล​จาก​แหล่ง​ผู้​ให้​ข้อมูล​โดยตรง โดย​เฉพาะ​ข้อมูล​ที่​
ผู้ถ​ ูกส​ ังเกต​อาจไ​ม่ต​ ้องการเ​ปิดเ​ผย นอกจาก​นี้ ยัง​เป็นว​ ิธีก​ าร​ได้ข​ ้อมูล​โดยไ​ม่​รบกวน​ผู้​ถูกส​ ังเกต
       ข้อ​จำ�กัด​ของ​แบบ​สังเกต ข้อมูล​ที่​ได้​จาก​เครื่อง​มือ​นี้​อาจ​คลาด​เคลื่อน​จาก​ความ​เป็น​จริง​ได้ ถ้า​
ผู้​สังเกตข​ าดค​ วาม​รู้ หรือท​ ักษะใ​น​เรื่องท​ ี่​สังเกต หรือ​กรณี​ที่ผ​ ู้ถ​ ูก​สังเกตร​ ู้ตัว อาจท​ ำ�ให้​แสดง​พฤติกรรม​ที่ไ​ม่​
เป็นธ​ รรมชาติ​ได้
       2.6 	 แบบว​ ัดท​ กั ษะก​ าร​ปฏบิ ตั ิ เป็นเ​ครื่อง​มือท​ ี่​ใช้​วัดค​ วาม​สามารถใ​น​การกร​ ะ​ทำ� หรือท​ ักษะ อาจว​ ัด​
ความ​รู้​ความ​คิด​เกี่ยว​กับ​การ​ปฏิบัติ​งาน และ​การ​ให้​ปฏิบัติ​งาน​จริง การ​วัด​ทักษะ​การ​ปฏิบัติ​สามารถ​วัด​ทั้ง​
กระบวนการป​ ฏิบัติ​งาน และ​ผลง​ านจ​ ากก​ าร​ปฏิบัติ โดย​การ​วัดท​ ักษะก​ าร​ปฏิบัติ จะว​ ัด​ว่าการป​ ฏิบัติ​งานน​ ั้น​มี​
วิธีก​ ารท​ ี่ด​ ี​อย่างไร และผ​ ลผลิตท​ ี่​ได้​มีค​ ุณภาพด​ ีเ​พียง​ใด
       ข้อดีแ​ บบ​วัด​ทักษะก​ าร​ปฏิบัติ สามารถ​วัดท​ ักษะ​ซึ่งไ​ม่​สามารถ​วัดด​ ้วยเ​ครื่อง​มือ​อื่นไ​ด้
       ข้อจ​ ำ�กัดข​ องแ​ บบว​ ัดท​ ักษะก​ ารป​ ฏิบัติค​ ือ งานท​ ีก่​ ำ�หนดใ​หท้​ ำ�​ตามแ​ บบว​ ัดท​ ักษะก​ ารป​ ฏิบัติ ส่วนใ​หญ​่
ใช้​เวลา​มาก และใ​ช้เ​วลา​ใน​การ​ตรวจใ​ห้ค​ ะแนนม​ าก
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32