Page 32 - สัมมนาทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
P. 32

8-22 สัมมนาทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

            1) 	จำ�นวนร​ ้อยล​ ะ​ผู้​สมัครเ​รียนท​ ี่​ชำ�ระเ​งิน​ด้วย​วิธี Pay at Post
            2) 	ระดับ​ความ​พึง​พอใจใ​น​การใ​ช้บ​ ริการ​ของผ​ ู้​สมัคร​เรียน
       3.2 	ว	ธิ ี​การ​ประเมิน มี​หลาย​วิธี ได้แก่ การ​สำ�รวจ การ​สัมภาษณ์ การ​ทดสอบ การ​ประชุม การ​ฝึก​
ปฏิบัติ การ​ทดลอง การ​ใช้​เท​คนิคเดลฟ​ าย และ​การ​ประเมินต​ นเอง
       3.3 	 เครื่องม​ ือป​ ระเมิน ได้แก่ แบบสอบถาม (Questionnaires) ซึ่ง​มี​สเกล​การ​วัดห​ ลาย​แบบ ได้แก่
แบบส​ ำ�รวจร​ ายการ แบบจ​ ัดร​ ะดับ​คุณภาพ เป็นต้น แบบส​ ัมภาษณ์ แบบส​ ังเกต แบบท​ ดสอบ แบบว​ ัด​ทัศนคติ
แบบ​บันทึก สังคมม​ ิติ รายล​ ะเอียดจ​ ะก​ ล่าวใ​น​เรื่องท​ ี่ 7.1.3 ต่อไ​ป
       3.4 	 ขอบเขตข​ องก​ าร​ประเมนิ เป็นการ​กำ�หนดว​ ่าจ​ ะ​เก็บข​ ้อมูล​จากใ​คร หรือ​แหล่ง​ข้อมูลไ​ด้​จากท​ ี่ใ​ด
เช่น การป​ ระเมิน​การส​ อน​เก็บข​ ้อมูล​จาก​ผู้เ​รียน หรือ​การใ​ห้ค​ รู​ประเมิน​ตนเอง เป็นต้น
       3.5 	 วเิ คราะห​ข์ ้อมลู เป็นการน​ ำ�​ข้อมูลท​ ี่​ได้​มา​แปล​ค่าเ​พื่อ​บอก​ถึง​ผลข​ อง​การด​ ำ�เนิน​การ​ประเมิน
       3.6 	 เกณฑก​์ ารต​ ดั สนิ ใ​จ คือ ระดับท​ ี่ถ​ ือว่าเ​ป็นค​ วามส​ ำ�เร็จข​ องก​ ารด​ ำ�เนินง​ านห​ รือผ​ ลท​ ี่ไ​ด้ เกณฑ์อ​ าจ​
กำ�หนดเ​ป็น​เชิงป​ ริมาณ หรือ​เป็นค​ ำ�​บรรยายใ​นเ​ชิง​คุณภาพ แต่ต​ ้อง​สม​เหตุส​ ม​ผล​เป็น​ที่​ยอมรับ

4. 	สรา้ ง​เครือ่ ง​มือ​ประเมิน

       ขั้นต​ อน​นี้​เป็น​ส่วนห​ นึ่งข​ อง​การต​ อบ​คำ�ถามว​ ่า ประเมินอ​ ย่างไร การ​สร้าง​เครื่องม​ ือ​ประเมินต​ ามท​ ี่​ได้​
ออกแบบ​ใน​กรอบ​การ​ประเมิน เครื่อง​มือ​ประเมิน​ที่​สร้าง​ขึ้น​ต้อง​สอดคล้องแ​ ละ​ครอบคลุมก​ ับ​ลักษณะ หรือ​
พฤติกรรมข​ องส​ ิ่งท​ ีจ่​ ะว​ ัด เช่น ถ้าต​ ้องการว​ ัดค​ วามร​ ู้ เครื่องม​ ือท​ ีใ่​ชต้​ ้องเ​ป็นแ​ บบท​ ดสอบ ถ้าต​ ้องการต​ รวจส​ อบ​
กระบวนการท​ ำ�งานต​ ้องใ​ช้แ​ บบส​ ังเกต การใ​ห้ผ​ ู้เ​ชี่ยวชาญพ​ ิจารณาค​ วามต​ รงข​ องเ​ครื่องม​ ือจ​ ะท​ ำ�ให้ม​ ั่นใจไ​ด้ว​ ่า
สอดคล้องแ​ ละค​ รอบคลุมก​ ับส​ ิ่งท​ ีจ่​ ะว​ ัด เมื่อส​ ร้างเ​สร็จแ​ ล้วค​ วรน​ ำ�​ไปท​ ดลองก​ ับก​ ลุ่มต​ ัวอย่าง (ทีค่​ ล้ายคลึงก​ ับ​
กลุ่มเ​ป้า​หมาย) ปรับปรุง และจ​ ัดท​ ำ�​ฉบับส​ มบูรณ์​รวม​ถึง​คู่มือก​ าร​ใช้

5. 	ท�ำ การว​ ดั (เกบ็ ข​ อ้ มลู ) กับ​แหลง่ ข​ อ้ มูลท​ ่กี​ ำ�หนด

       เป็น​ขั้น​ตอน​ที่​ผู้​ประเมิน​นำ�​เครื่อง​มือ​วัด​ที่​มี​คุณภาพ ไป​เก็บ​ข้อมูล​กับ​แหล่ง​ข้อมูล หรือ​ผู้​ที่​จะ​ให้​
ข้อมูลส​ ำ�คัญ (Key Informant Person) โดย​ทั่วไป ควรใ​ช้​แหล่งข​ ้อมูลห​ ลายแ​ หล่ง เช่น จากค​ รู ผู้เ​รียน และ​
ผู้​ปกครอง เพื่อ​การต​ รวจส​ อบ​ข้อมูล ลด​ความล​ ำ�เอียง และ​ความ​ไม่​ถูกต​ ้อง​ของข​ ้อมูล แหล่ง​ข้อมูลท​ ี่​ควรเ​ก็บ​
ข้อมูลป​ ระกอบด​ ้วยบ​ ุคคล 3 ฝ่าย คือ (1) กลุ่ม​ผู้​ให้​บริการ (Service Providers) ได้แก่ ผู้ป​ ฏิบัติง​ านโ​ครงการ
(2) ผู้รับ​บริการ (Service Receivers) ได้แก่ ผู้รับก​ ารอ​ บรม และ (3) กลุ่มผ​ ู้​ที่​เกี่ยวข้อง (Stakeholders)
ได้แก่ ผู้​บังคับ​บัญชา​ของ​ผู้รับ​การ​อบรม ประชาชน​ที่​ได้​รับ​ผลก​ระ​ทบ​จาก​การ​ดำ�เนิน​การ หรือ​จาก​ผลผลิต​
ของโ​ครงการ เป็นต้น

       ถ้า​ต้องการ​ให้​ผล​การ​ประเมิน​เป็น​ที่​ยอมรับ​ใน​วง​กว้าง ควร​ใช้​นัก​ประเมิน​จาก​หน่วย​งาน​ภายนอก
เพราะ​จะ​มี​ความ​เป็น​อิสระ​ไม่มี​ความ​ลำ�เอียง​ใน​การ​ประเมิน เช่น การ​ประเมิน​โครงการ​ที่​มี​ผล​ประโยชน์​เข้า​
มา​เกี่ยวข้อง พึงร​ ะวังก​ ารเมือง​ในก​ ารป​ ระเมิน อัน​เนื่อง​มา​จากก​ ลุ่ม​บุคคล​ที่ม​ ี​ส่วนไ​ด้​เสีย อาจส​ ร้างอ​ ิทธิพลต​ ่อ​
กระบวนการ​ประเมิน เพื่อ​ให้​ได้​ผล​การ​ประเมิน​ตาม​ที่​ตน​ต้องการ ดัง​นั้น ผู้​ประเมิน​ควร​ใช้​วิธี​การ​ที่​ยืดหยุ่น​
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37