Page 51 - สัมมนาทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
P. 51

สัมมนาด้านการประเมินทางการศึกษา 8-41

2. 	ประเภท​ของก​ าร​ประเมนิ อ​ งคก์ ร

       ประเภท​ของ​การ​ประเมิน​องค์กร​มี​หลาย​ประเภท​ตาม​เกณฑ์​ใน​การ​แบ่ง ใน​ที่​นี้​แบ่ง​ประเภท​โดย​
ยึด​เกณฑ์​การ​แบ่ง​การ​ประเมิน​องค์กร​โดย​ยึด​รูป​แบบ​ใน​องค์กร​ที่​สำ�คัญ​ได้แก่ (1) การ​ประเมิน​แบบ​สมดุล
(2) มาตรฐานร​ ะบบบ​ ริหารค​ ุณภาพส​ ากล (ISO) (3) ระบบก​ ารบ​ ริหารง​ านท​ ี่ม​ ุ่งผ​ ลส​ ัมฤทธิ์ และ (4) ตามร​ ูปแ​ บบ​
การ​ประกัน​คุณภาพ

       2.1 	 การป​ ระเมนิ แ​ บบส​ มดลุ (BalancedScorecardหรอื BSC) เปน็ การว​ ดั ผลแ​ บบส​ มดลุ ท​ คี​่ รอบคลมุ
การ​ปฏิบัติง​ านท​ ุกด​ ้าน​ของอ​ งค์กร ทำ�ให้ผ​ ู้บ​ ริหาร​คิดอ​ ย่างเ​ป็นร​ ะบบ ภาย​ใต้​กรอบว​ ัตถุประสงค์เ​ดียวกัน การ​
วางแผน การก​ ำ�หนดก​ ิจกรรม ตลอดจ​ นม​ ีก​ ารว​ ัดผลท​ ี่​เป็นร​ ะบบส​ อดคล้องก​ ัน การท​ ำ�งานอ​ ะไรก​ ็ตาม เมื่อม​ ี​
วัตถุประสงค์ใ​น​การ​ทำ�งาน ก็​ต้อง​มี​ตัว​ชี้​วัด วัตถุประสงค์ใ​น​การ​ทำ�งาน และ​ภารกิจ​ใน​แต่ละ​แผนก​และ​ตัว​ชี้​
วัด​ของ​พนักงาน ต้องส​ อดคล้องก​ ับต​ ัว​วัดห​ ลักข​ องบ​ ริษัท การ​ทำ�งานจ​ ะ​มีม​ าตรฐาน​เดียวกัน

       การ​จัด​ทำ�การ​ประเมิน​แบบ​สมดุล (Balanced Scorecard) ตาม​ทฤษฎี​ต้อง​เริ่ม​จาก​การ​กำ�หนด
​เป้า​หมาย วิสัย​ทัศน์ ค่า​นิยม ภารกิจ​เป้า​หมาย เป้า​หมาย​ส่วน​บุคคล หลัง​จาก​นั้น​จึง​กำ�หนด​ตัว​ชี้​วัด​ที่​ใช้​วัด​
ความส​ ำ�เร็จข​ องง​ านอ​ ย่างช​ ัดเจน และเ​ห็นพ​ ้องต​ ้องก​ ันร​ ะหว่างผ​ ู้ป​ ระเมินแ​ ละผ​ ู้ถ​ ูกป​ ระเมิน ส่วนข​ ั้นต​ อนก​ ารนำ�​
มาใ​ช้ใ​น​องค์กรเ​ริ่ม​ที่ก​ ารนำ�​เสนอ​คณะ​ผู้บ​ ริหาร​สูงสุด เพื่อ​ตกลงถ​ ึงภ​ ารกิจ​ของ​องค์กร ระดมค​ วามค​ ิดเ​ห็นก​ ับ​
ผู้​จัดการ​อาวุโสเ​พื่อต​ กลงเ​กี่ยวก​ ับเ​ป้า​หมาย กลยุทธ์ ฯลฯ และ​ขั้น​สุดท้ายท​ ำ�ความเ​ข้าใจ​กับ​พนักงาน (สุรช​ ัย
สุ​วิถี​ชน 2545)

       ในเ​รื่องค​ วามเ​กี่ยวข้องร​ ะหว่างก​ ารป​ ระเมินแ​ บบส​ มดุลก​ ับต​ ัวช​ ี้ว​ ัด (Key Performance Indicators:
KPI) พสุ เดชะร​ ิน​ ทร์ (2544) กล่าวว​ ่า BSC เป็นร​ ะบบห​ รือก​ ระบวนการ​ใน​การบ​ ริหารป​ ระเภท​หนึ่งท​ ี่อ​ าศัย​การ​
กำ�หนด​ตัวช​ ี้ว​ ัด​ที่เ​รียก​ว่า KPI เป็นก​ ลไกส​ ำ�คัญใ​นก​ าร​จัดท​ ำ� BSC ต้องม​ ี​การจ​ ัดท​ ำ� KPI

       ตัว​ชี้ว​ ัด​ของ BSC มีม​ ุมม​ อง 4 ด้าน คือ ด้านก​ าร​เงิน ด้านล​ ูกค้า ด้านก​ ระบวนการภ​ ายใน และ​ด้าน​
การ​เรียน​รู้แ​ ละ​การพ​ ัฒนา แต่ละม​ ุม​มองป​ ระกอบด​ ้วย 4 ส่วนส​ ำ�คัญ คือ วัตถุประสงค์ ตัวช​ ี้ว​ ัด เป้าห​ มาย และ​
แผน​งาน​โครงการ​หรือ​กิจ เป็นแ​ นวคิดท​ ี่​ยืดหยุ่น​อาจ​ไม่​จำ�เป็นต​ ้องม​ ี 4 มุม​มอง เหมือนแ​ บบ​ดั้งเดิม อาจจ​ ะ​ม​ี
มุมม​ อ​งอื่นๆ เพิ่ม​เข้า​มา เช่น สิ่ง​แวดล้อม เป็นต้น

       2.2		มาตรฐานร​ ะบบบ​ รหิ ารค​ ณุ ภาพส​ ากล ISO (International Organization for Standardization)
คือ ระบบก​ าร​ประกันค​ ุณภาพท​ ี่​ทำ�ให้​เป็น​มาตรฐานเ​ดียวกันท​ ั่วโ​ลก เป็นร​ ะบบก​ ารบ​ ริหารง​ านท​ ี่เ​น้น​ความพ​ ึง​
พอใจ​ของ​ลูกค้า มาตรฐาน​ระบบ​บริหาร​คุณภาพ​สากลท​ ี่ม​ ี​การ​รับรอง​อย่าง​แพร่​หลาย ได้แก่ ISO 9000 ISO
14000 ISO 18000 เป็นต้น สำ�หรับ ISO 9000 เป็นม​ าตรฐาน​ระบบก​ ารบ​ ริหาร​จัดการ ส่วน ISO 14000 เป็น​
มาตรฐานร​ ะบบจ​ ัดการส​ ิ่ง​แวดล้อม ส่วน ISO 18000 เป็นม​ าตรฐานส​ ุข​อนามัยแ​ ละค​ วาม​ปลอดภัยใ​น​สถาน​
ประกอบ​การ ใน​หน่วย​นี้​จะ​อธิบายก​ าร ISO 9000 ซึ่งเ​ป็นร​ ะบบ​การบ​ ริหารจ​ ัดการท​ ั่วไป

       ระบบ​ประกัน​คุณภาพ ISO 9000 ที่​เป็น​มาตรฐาน​ระบบ​การ​บริหาร​จัดการ ประกอบ​ด้วย 20 ส่วน​
ประกอบ ไดแ้ ก่ (1) ความร​ บั ผ​ ดิ ช​ อบข​ องก​ ารจ​ ดั การ (2) ระบบค​ ณุ ภาพ (3) การท​ บทวนข​ อ้ ต​ กลง (4) การค​ วบคมุ ​
การอ​ อกแบบ (5) การ​ควบคุม​เอกสาร​และข​ ้อมูล (6) การจ​ ัด​ซื้อ (7) การค​ วบคุม​ผลิตภัณฑ์ท​ ี่ส​ ่งม​ อบใ​ห้​ลูกค้า
(8) การ​ชี้บ​ ่ง​และส​ อบก​ ลับ​ของ​ผลิตภัณฑ์ (9) การค​ วบคุม​กระบวนการ (10) การต​ รวจต​ ิดตาม​และก​ าร​ทดสอบ
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56