Page 30 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 30
9-20 ศิลปะกบั สังคมไทย
เรือ่ งที่ 9.3.1
ดนตรพี ื้นบา้ นภาคเหนือ
ภาคเหนอื เปน็ ภมู ภิ าคทมี่ คี วามหลากหลายของดนตรี ซง่ึ ใชบ้ รรเลงในโอกาสตา่ งๆ เชน่ พธิ กี รรม
ประกอบการแสดง และประกอบในกจิ กรรมสนั ทนาการ ซง่ึ อาจแยกกลา่ วไดด้ งั น้ี (http://www.openbase.
in.th/node/6557)
1. ในการประกอบพิธีกรรม มีพิธีสองแนวคือ แนวพุทธกับแนวผี คือ พิธีกรรมเชิงพุทธศาสนา
และพิธีกรรมเกี่ยวกับผี ซ่ึงทั้งสองแนวดังกล่าวดนตรีมีบทบาทเป็นเพียงส่วนประกอบ เช่น ในงานฉลอง
รื่นเริงหรือในงานศพซ่ึงมีพิธีทางพุทธศาสนาน้ัน พบว่าดนตรีเป็นเพียงส่วนท่ีช่วยให้งานคึกคักหนักแน่น
ขนึ้ ซึ่งหากจะไมม่ ดี นตรีในกิจกรรมนัน้ ๆ แล้ว กจิ กรรมดงั กล่าวก็ยงั สามารถดำ� เนนิ ตอ่ ไปได้ ในกจิ กรรม
เกยี่ วกบั ผนี นั้ ในการบชู าผหี รอื แกบ้ นนนั้ ไมจ่ ำ� เปน็ วา่ จะตอ้ งมดี นตรปี ระกอบกไ็ ด้ แตใ่ นการฟอ้ นผนี นั้ ทต่ี อ้ ง
มดี นตรเี ขา้ มาเกีย่ วข้องกเ็ พราะมกี ารฟ้อนรำ� อันเปน็ สว่ นประกอบในพิธเี ล้ยี งผเี ท่านน้ั
2. ในการประกอบการแสดง ดนตรจี ะมบี ทบาทสำ� คญั ตอ่ การแสดงหลายอยา่ ง ทเี่ ปน็ ทง้ั การแสดง
เพอ่ื ประกอบในงานประเพณหี รอื เพอ่ื ความบนั เทงิ ดงั จะเหน็ ไดว้ า่ การฟอ้ นรำ� หรอื การขบั ซอหรอื ขบั ขานนน้ั
จะตอ้ งมดี นตรปี ระกอบเสมอ
ซง่ึ ดนตรที ใี่ ชบ้ รรเลงในโอกาสตา่ งๆ ของสงั คมภาคเหนอื นน้ั จะมเี ครอ่ื งดนตรที ม่ี ลี กั ษณะเฉพาะท่ี
ใชว้ ัสดุท่ีหาไดจ้ ากในพื้นที่ โดยเคร่ืองดนตรีมีท้งั ประเภทดีด สี ตี และเปา่
เคร่อื งดีด เคร่ืองดนตรปี ระเภทนีข้ องภาคเหนอื ทีส่ ำ� คญั ทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะของภมู ิภาค คือ
- พณิ เปย๊ี ะ เปน็ เครอื่ งดดี เกา่ แกข่ องภาคเหนอื ปจั จบุ นั หาผเู้ ลน่ ไดย้ ากเพราะวธิ บี รรเลงยาก
เสียงเบา ไม่ค่อยมีผู้นิยมเล่น พิณเปี๊ยะมีหลายสายแต่เดิมมี 2 สายและพัฒนามาเป็น 3 สายจนถึง
7 สายแตเ่ ดิมสายท�ำจากลวดโลหะ ปัจจุบันใชเ้ สน้ ลวดทองเหลอื ง
- ซึง เป็นเคร่ืองดีดของภาคเหนือเช่นเดียวกัน ใช้ดีดในวงสะล้อ ซึ่งประกอบในพิธีกรรม
ประกอบการแสดง และบรรเลงในโอกาสอ่ืนๆ ตามความตอ้ งการ ซึงมี 3 ขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ซึ่งเรียก
เรียงกันว่า ซงึ หลวง ซึงกลาง และซึงเลก็
เคร่อื งสี เครื่องดนตรีประเภทน้ีของภาคเหนอื ที่ส�ำคัญทีม่ ลี ักษณะเฉพาะของภมู ภิ าค คือ
- สะลอ้ เปน็ เครอื่ งดนตรปี ระเภททที่ ำ� ใหเ้ กดิ เสยี งจากการสี เปน็ เครอ่ื งดนตรขี องภาคเหนอื
สะล้อมี 3 ขนาด เรียกขนาดใหญ่วา่ “สะล้อหลวง” ขนาดกลางเรียกว่า “สะล้อกลาง” ขนาดเล็กเรยี กว่า
“สะลอ้ เลก็ ” สะลอ้ มคี นั ชกั สำ� หรบั สอี ยขู่ า้ งนอกไมต่ ดิ กบั ตวั สะลอ้ ใชบ้ รรเลงในโอกาสตา่ งๆ อยใู่ น “วงสะลอ้ ซงึ ”
เช่น ในพธิ กี รรม ในประเพณีตา่ งๆ และบรรเลงในโอกาสอนื่ ๆ ได้ตามความเหมาะสม
เคร่ืองตี เครอ่ื งดนตรปี ระเภทนขี้ องภาคเหนือทสี่ ำ� คัญท่มี ีลักษณะเฉพาะของภมู ภิ าค คือ
- ฆอ้ งพน้ื เมอื งภาคเหนอื เปน็ เครอ่ื งตที ท่ี ำ� ดว้ ยโลหะผสม มปี มุ่ ตรงกลางมขี นาดใหญเ่ รยี กวา่
ฆอ้ งโหมง่ จะบรรเลงคกู่ นั ตสี ลบั กนั ไปตามจงั หวะเพลง ปจั จบุ นั มฆี อ้ งหลายขนาดเพม่ิ จาก 2 ใบถงึ 9 ใบ