Page 32 - การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา
P. 32

13-22 การรณรงค์และผลิตงานโฆษณา
            1.4	ควรเลือกจากความถนัดของผู้น�ำเสนอ ผู้น�ำเสนอบางคนสามารถน�ำเสนองานได้ดีกับ

กลมุ่ ผฟู้ งั ขนาดเลก็ แตไ่ มส่ ามารถน�ำเสนองานไดก้ บั กลมุ่ ผฟู้ งั ขนาดใหญ่ บางคนมคี วามสามารถในการเลา่
เรื่องได้น่าสนใจ บางคนมีความสามารถในการอธิบายข้อมูลได้ดี จึงควรพิจารณาจากความถนัดในการ
นำ� เสนอประกอบการตดั สนิ ใจเพ่อื คดั เลือกผู้นำ� เสนอ

       2.	 การแบง่ หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ เมอื่ เลอื กผนู้ ำ� เสนอไดแ้ ลว้ ควรแบง่ หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบในการน�ำเสนอ
งานของแต่ละคนให้ชัดเจน ซึ่งเริ่มจากการก�ำหนดหัวหน้าทีมการน�ำเสนอ โดยส่วนใหญ่จะเป็นผู้อ�ำนวย
การฝ่ายบริหารงานลูกค้าเป็นผู้รับผิดชอบดูแลภาพรวมของการน�ำเสนอ และก�ำหนดผู้ประสานงาน
เนื่องจากการน�ำเสนองานแบบเป็นทีมต้องอาศัยการประสานงานและการร่วมมือกันค่อนข้างสูงจาก
ผนู้ ำ� เสนอทกุ คน จงึ ตอ้ งมผี ทู้ ำ� หนา้ ทต่ี ดิ ตอ่ ประสานงานกบั ผนู้ ำ� เสนอ เพอ่ื ใหก้ ารนำ� เสนอเปน็ ไปดว้ ยความ
ราบรื่น และถ้าหากการน�ำเสนอมีการใช้โสตทัศนูปกรณ์ที่มีความยุ่งยากซับซ้อน ควรหาคนท่ีรับผิดชอบ
ดกู ารใชโ้ สตทัศนปู กรณป์ ระกอบการนำ� เสนอ

       ในส่วนของผู้ที่ท�ำหน้าท่ีน�ำเสนองาน ต้องเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง ทราบวัตถุประสงค์
กลยทุ ธใ์ นการนำ� เสนองาน และในการนำ� เสนองานควรมกี ารแบง่ ประเดน็ เนอ้ื หาแตล่ ะสว่ นสำ� หรบั ผนู้ ำ� เสนอ
ให้เหมาะสม โดยปกติแล้วในการเสนองานท่ีเป็นโครงการใหญ่ ผู้บริหารงานลูกค้า จะเป็นผู้น�ำเสนอใน
ตอนต้น โดยจะกล่าวถึงปัญหาของลูกค้าเพ่ือให้ลูกค้าเล็งเห็นถึงปัญหา และเสนอวิธีท่ีจะช่วยแก้ปัญหาที่
เกิดขึ้น หลังจากน้ันก็จะเป็นการเสนองานฝ่ายสร้างสรรค์และผู้วางแผนส่ือ บางคร้ังการน�ำเสนองานอาจ
ท�ำได้โดยกรรมการผูจ้ ดั การ ผอู้ ำ� นวยการแผนกสรา้ งสรรค์ ผ้อู ำ� นวยการแผนกสอ่ื เป็นต้น แต่สำ� หรบั งาน
ท่ีเป็นโครงการเล็กลงมานั้น ผู้บริหารงานลูกค้าจะเป็นผู้น�ำเสนองานเองท้ังหมดต้ังแต่กลยุทธ์การโฆษณา
แผนงานโฆษณา งานสร้างสรรค์ กลยทุ ธก์ ารใช้สอื่ (ตวงพร บณุ ยะสาระนันท์, 2543: 57)

       ลิน โครอีเกอร์ (Lin Kroeger) ได้ก�ำหนดแนวทางการแบ่งหน้าท่ีรับผิดชอบในการน�ำเสนอไว้
ดังน้ี

            1)	 ควรกำ� หนดวา่ ใครจะเปน็ ผเู้ รม่ิ ตน้ การนำ� เสนอเปน็ คนแรก ซงึ่ ความเปน็ คนทพี่ ดู ไดด้ ที ส่ี ดุ
และดูนา่ เชอื่ ถอื ที่สดุ

            2)	ควรก�ำหนดว่าใครจะพดู ถงึ รายละเอียดในส่วนใดบา้ ง
            3)	วธิ ีการสง่ ตอ่ ใหผ้ ้พู ดู คนถัดไปควรจะเปน็ ในลักษณะใด
            4)	ควรก�ำหนดว่าผู้พูดทกุ คนควรจะยืนทดี่ า้ นหนา้ ตลอดเวลาของการนำ� เสนอหรอื ไม่
            5)	ควรพจิ ารณาว่าใครจะเปน็ ผดู้ �ำเนินรายการช่วงถาม ตอบ เพอื่ ท่วี างตัวผู้ตอบคำ� ถามให้
ตรงประเดน็ ทส่ี ุด
            6)	ควรกำ� หนดวา่ ใครจะเปน็ ผจู้ ดั การเรอื่ งอปุ กรณป์ ระกอบ เพอ่ื ใหท้ กุ อยา่ งสอดคลอ้ งกนั และ
เตรยี มการเสร็จล่วงหน้ากอ่ นวนั นำ� เสนอ (ลนิ โครเกอร์, 2541: 30)
       3.	 การวางแผนฝึกซ้อมการน�ำเสนอ การฝึกซ้อมการน�ำเสนองาน เป็นสิ่งหนึ่งท่ีส�ำคัญ เพราะ
การน�ำเสนองานน้ันหากมีข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์เพียงอย่างเดียว ไม่อาจท�ำให้ประสบความส�ำเร็จในการ
นำ� เสนอไดแ้ ตต่ อ้ งประกอบดว้ ยเทคนคิ วธิ แี ละขน้ั ตอนในการนำ� เสนออยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม ซง่ึ เกดิ ขน้ึ ได้
จากการฝกึ ซอ้ ม โดยเฉพาะการนำ� เสนองานแบบเปน็ ทมี ยงิ่ มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งทำ� การฝกึ ซอ้ มการนำ� เสนออยา่ ง
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37