Page 15 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 15

ความรู้ดา้ นสงั คมวิทยาและมานุษยวทิ ยา 2-5

เรื่องท่ี 2.1.1
ความหมายและความส�ำคัญของสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

1.	 ความหมาย

       สังคมวิทยา (Sociology) หมายถงึ วชิ าว่าด้วยเรอ่ื งสงั คม (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. 2552) ปรากฏใชเ้ ปน็ คร้งั แรกในปี ค.ศ. 1830 โดยออกุส กอ็ งต์ (August Comte) นักสงั คมวิทยา
รุ่นบกุ เบกิ สงั คมวิทยาในภาษาอังกฤษใช้ค�ำว่า Sociology มาจากศัพทส์ องคำ�  คือ socius ซงึ่ เป็นภาษา
ละตนิ หมายถึงเพื่อนหรือผู้คบหาสมาคม และค�ำวา่ logos ภาษากรกี ที่หมายถึงถอ้ ยคำ�   หรอื คำ� พดู หรือ
การศกึ ษา รวมกันกจ็ ะหมายถงึ การพูดคยุ หรอื การศกึ ษาเกยี่ วกบั สงั คม แต่เน่อื งจากสองคำ� นเ้ี ปน็ การรวม
คำ� ทไ่ี มถ่ กู ตอ้ งตามหลกั ภาษาศาสตรเ์ นอื่ งจากมาจากสองภาษา ตอ่ มาในศตวรรษท่ี 19 จงึ มนี กั ปราชญช์ าว
องั กฤษได้เสนอคำ� วา่ Ethnology ซ่ึงเป็นการรวมคำ� สองคำ� ในภาษากรีก (ethno + logos) มีความหมาย
ว่า ชาตพิ นั ธ์ุวิทยา แตก่ ไ็ มเ่ ปน็ ทนี่ ิยมใชม้ ากเทา่ กบั ค�ำว่า Sociology (ศริ ิรตั น์ แอดสกลุ , 2555)

       พจนานกุ รมศพั ทส์ งั คมวทิ ยาองั กฤษ-ไทย (2532) ไดอ้ ธบิ ายไวว้ า่ สงั คมวทิ ยา คอื การพนิ จิ ศกึ ษา
เชิงวิทยาศาสตร์ในเรื่องปรากฏการณ์ที่เกิดจากความสัมพันธ์ของมนุษย์ในกลุ่ม และการพินิจศึกษาความ
สมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ บั สภาวะแวดลอ้ มทมี่ นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ สงั คมวทิ ยาตา่ งจากการศกึ ษาดา้ นอน่ื โดยเนน้
ปจั จยั ทเ่ี กยี่ วเนอ่ื งตา่ งกนั ไปในปรากฏการณท์ างสงั คม เชน่ เนน้ ตวั ความสมั พนั ธเ์ องหรอื เนน้ บทบาทหนา้ ท่ี
ของบคุ คลในระบบความสมั พนั ธ์ ถงึ แมว้ า่ สงั คมวทิ ยายงั ไมส่ ามารถใหข้ อ้ สรปุ ทแ่ี นน่ อนเหมอื นขอ้ สรปุ ของ
วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ แต่วิธีการท่ีใช้นั้นก็ยึดถือแนวทางของวิทยาศาสตร์โดยเคร่งครัด โดยสังเกตและ
วิเคราะห์พฤติกรรมในกลุ่มชนท่ีเกิดซ�้ำสม่�ำเสมอในรูปแบบเดียวกัน เพื่อสรุปหาความหมายท่ีเป็นสากล
ซึ่งอาจพิสูจนย์ นื ยันว่าเป็นจรงิ ทว่ั ไป

       มนี กั วชิ าการไดใ้ หค้ วามหมายของคำ� วา่ สงั คมวทิ ยาไวห้ ลากหลายมมุ มอง (สภุ ตั รา สภุ าพ, 2546)
เช่น

       แม็กซ์ เวเบอร์ (Max Weber) กลา่ วถึง สงั คมวิทยาวา่ ม่งุ ศึกษาเพื่อกำ� หนดแบบแนวความคดิ
ต่างๆ และหาหลักเกณฑ์ทั่วไปเก่ียวกับสิ่งท่ีปรากฏในสังคมเป็นแบบเดียวกัน โดยมุ่งวิเคราะห์หาสาเหตุ
และอธบิ ายพฤติกรรมที่ส�ำคัญของบุคคล กล่มุ บุคคล หรือสถาบันในสงั คม

       เจมส์ และ แซนเดน (James & Zanden, 1993) ให้ความหมายวา่ สงั คมวิทยาเปน็ ศาสตร์ทเ่ี นน้
ศึกษาการกระท�ำระหว่างกันของมนุษย์ในสังคมและการจัดระเบียบทางสังคม (social interaction and
organization)

       แชฟเฟอร์ (Schaefer, 2004) อธบิ ายวา่ สงั คมวทิ ยาคอื การศกึ ษาพฤตกิ รรมทางสงั คมของมนษุ ย์
และศึกษากลุ่มคน เพ่ือดูว่าความสัมพันธ์ทางสังคมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของคนได้อย่างไรและส่งผลให้
เกดิ การพฒั นาหรือการเปล่ียนแปลงทางสังคมอยา่ งไร
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20