Page 19 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 19
ความรูด้ า้ นสงั คมวทิ ยาและมานุษยวิทยา 2-9
กิจกรรม 2.1.1
สงั คมวิทยาและมานุษยวทิ ยาคอื การศกึ ษาเรอ่ื งอะไร และมีความสำ� คัญอยา่ งไร
แนวตอบกิจกรรม 2.1.1
ทั้งสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเป็นการศึกษาเร่ืองราวเก่ียวกับมนุษย์ในสังคม โดยสังคมวิทยา
ศึกษาพฤตกิ รรมและความสมั พันธ์ของมนษุ ย์ในสังคม รวมทงั้ ผลกระทบของพฤติกรรมหรอื ความสมั พันธ์
นนั้ ทมี่ ตี อ่ การดำ� รงชวี ติ และการเปลย่ี นแปลงของสงั คมมนษุ ย์ สว่ นมานษุ ยวทิ ยาทำ� ความเขา้ ใจมนษุ ย์ คน้ หา
คำ� ตอบตา่ งๆ เกย่ี วกบั ววิ ฒั นาการของมนษุ ย์ สงั คมมนษุ ยแ์ ละชวี ติ ผคู้ นในสงั คมไดพ้ ฒั นาขนึ้ มาจนมคี วาม
แตกต่างกนั ไดอ้ ย่างไร
สงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยามคี วามสำ� คญั เนอ่ื งจากชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจในมนษุ ยต์ า่ งสงั คมและเขา้ ใจการ
ถ่ายทอดทางสังคม ช่วยลดความนิยมในชาติพันธุ์ของตัวหรือลดอคติของมนุษย์ในสังคมหน่ึงต่อสังคมอ่ืน
และเสนอหนทางแกไ้ ขปัญหาสังคม
เร่ืองท่ี 2.1.2
พัฒนาการและขอบเขตการศึกษาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเกิดขึ้นมาจากการท่ีมนุษย์สงสัยว่าตนมาจากไหน ซ่ึงเป็นค�ำถามท่ี
มีมานานแล้ว แต่ใช้วิธีการศึกษาที่ไม่เป็นระบบ โดยมนุษย์จะเลือกหาค�ำตอบตามประสบการณ์ท่ีตรงกับ
ความเชอื่ ดัง้ เดิม หรืออาศยั ความรู้สึกนึกคดิ และจติ นาการออกมา ในเรอ่ื งน้จี ะไดอ้ ธบิ ายถึงพัฒนาการและ
ขอบเขตของการศกึ ษาสังคมวิทยาและมานษุ ยวิทยาดงั น้ี
1. พัฒนาการของสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
แรกเร่มิ ของการศกึ ษาเกี่ยวกบั มนษุ ย์และสงั คมมนุษยใ์ นยุคเพลโตและอรสิ โตเติลในสมยั กรีกและ
โรมนั ไดศ้ กึ ษาลกั ษณะของระบบการปกครองและสงั คมแบบตา่ งๆ ตอ่ มาเมอื่ วทิ ยาศาสตรไ์ ดเ้ ขา้ มามบี ทบาท
ส�ำคัญในการศึกษาศาสตร์ด้านต่างๆ การศึกษาเก่ียวกับมนุษย์และสังคมมนุษย์จึงได้หยิบยืมวิธีการทาง
วทิ ยาศาสตรเ์ ขา้ มาใชศ้ กึ ษาสงั คมมนษุ ยอ์ ยา่ งเปน็ เหตเุ ปน็ ผลมากขนึ้ การศกึ ษาดา้ นสงั คมวทิ ยาและมานษุ ย-
วทิ ยาจงึ พัฒนาขน้ึ มาเป็นสาขาหนึง่ แยกจากปรัชญาสังคม โดยในยคุ ทศวรรษที่ 18 ซ่ึงเป็นยุครุ่งเรอื งทาง
ปัญญาในกลุ่มประเทศตะวันตกหรือในยุโรป มีการศึกษาว่าจะเปล่ียนแปลงมนุษย์หรือพัฒนาสังคมมนุษย์
อยา่ งไรใหบ้ รรลถุ งึ ความเจรญิ สงู สดุ การวเิ คราะหศ์ กึ ษาสงั คมมนษุ ยจ์ งึ ไดเ้ รม่ิ ใชร้ ะเบยี บวธิ ที างวทิ ยาศาสตร์
มากขนึ้ จงึ เกดิ วิชา สงั คมศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์สังคม (social science) ขึน้ เพื่อให้มองเหน็ สภาพ