Page 23 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 23
ความรูด้ า้ นสงั คมวิทยาและมานุษยวทิ ยา 2-13
การแบง่ ความคดิ ของมนษุ ยอ์ อกเปน็ กลมุ่ ตา่ งๆ กส็ ง่ ผลกบั การกำ� หนดขอบเขตของการศกึ ษาเรอื่ ง
สังคมและมนุษย์ตามไปด้วย หากพิจารณาเรื่องมานุษยวิทยาก็เป็นขอบเขตการศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์ใน
ระดบั จลุ ภาค เช่น การศึกษาความคิดเกี่ยวกับตนเอง และแบบแผนการกระท�ำของตน หรือวัตถหุ รอื สิ่งท่ี
อยู่รอบตัวตน (เช่น ค่านิยม ความเช่ือ วัฒนธรรม ความแตกต่างในพฤติกรรม) และหากพิจารณาเร่ือง
สงั คมวิทยาก็เป็นขอบเขตการศึกษาเกยี่ วกับมนษุ ยใ์ นระดับมหภาค เช่น การศกึ ษาความคิดเกยี่ วกับกลุ่ม
คน การมีปฏิสัมพันธ์ตอ่ ผคู้ นในสังคมและต่อสิง่ แวดลอ้ มหรอื ปรากฏการณใ์ นสังคม (เช่น ความขดั แยง้ ใน
สังคม ปัญหาความเหลอื่ มลำ้� ทางสงั คม การมโี อกาสหรอื การดอ้ ยโอกาสของคนบางกลุ่ม) นักสงั คมวทิ ยา
บางทา่ นจงึ แบง่ ขอบเขตการศกึ ษาดา้ นสงั คมวทิ ยาออกเปน็ สำ� นกั คดิ ตา่ งๆ เชน่ โครงสรา้ งหนา้ ท่ี สญั ลกั ษณ์
ความขดั แย้ง ปรากฏการณน์ ิยม เปน็ ต้น
ในขณะท่ีการศกึ ษาดา้ นมานษุ ยวิทยามีจดุ เน้นหรอื ขอบเขตของเรื่องท่ศี ึกษาดังตอ่ ไปน้คี อื
1. เน้นการเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของพฤติกรรมของมนุษย์ในด้านต่างๆ
น่ันคือ พยายามค้นหากฎเกณฑ์ที่ส่งผลให้มนุษย์ในสังคมต่างๆ มีพฤติกรรมท่ีเหมือนกันและต่างกันไป
ทั้งนี้เพือ่ การพยายามท�ำความเข้าใจธรรมชาติของมนษุ ย์
2. เนน้ การศกึ ษาตา่ งวฒั นธรรม ทงั้ นเ้ี พอื่ ใหไ้ ดม้ าซง่ึ กฎเกณฑอ์ นั เปน็ สากลสำ� หรบั ธรรมชาตขิ อง
มนุษย์ และเพื่อลดอคติในการท�ำความเข้าใจคนอื่นและสังคมอื่น ซึ่งเป็นเป้าหมายที่ส�ำคัญของการเรียน
การสอนในสาขาสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา คำ� วา่ ตา่ งวฒั นธรรม อาจไมไ่ ดห้ มายถงึ ประเทศของตนกบั
ประเทศอน่ื หรอื สงั คมอนื่ เทา่ นน้ั แตอ่ าจศกึ ษากลมุ่ คนหรอื สงั คมทมี่ วี ฒั นธรรมยอ่ ยในของสงั คมตวั เอง เชน่
กลมุ่ คนรักร่วมเพศ ชนกลมุ่ นอ้ ยในสังคมไทย เป็นต้น
3. เนน้ ศกึ ษาสงั คมในทกุ ระดบั การพฒั นา คอื ทำ� การศกึ ษาสงั คมทกุ แหง่ ทวั่ โลกไมว่ า่ จะเปน็ สงั คม
ดอ้ ยพฒั นา สงั คมกำ� ลงั พฒั นา หรอื สงั คมอตุ สาหกรรมซงึ่ พฒั นาแลว้ เนอื่ งจากสงั คมเหลา่ นไี้ ดเ้ ปลยี่ นแปลง
ไปอยา่ งมากตัง้ แต่ชว่ งหลงั สงครามโลกคร้ังท่ี 2 เปน็ ต้นมา เป็นเหตใุ หน้ ักมานุษยวิทยาหนั มาสนใจศกึ ษา
สงั คมสมยั ใหมม่ ากยงิ่ ขน้ึ ขณะทใ่ี นอดตี มกั เนน้ ศกึ ษาสงั คมดงั้ เดมิ สงั คมทไ่ี มร่ หู้ นงั สอื หรอื สงั คมดอ้ ยพฒั นา
เปน็ หลกั
4. เน้นศึกษาชีวิตมนุษย์และสังคมในทุกแง่มุมหรือทุกด้านของชีวิต เช่น ครอบครัว เศรษฐกิจ
การเมอื ง ความเชอื่ คา่ นยิ ม วฒั นธรรม ความเปน็ อยู่ เทคโนโลยี และการเปลยี่ นแปลงทางวฒั นธรรมรวม
ไปถงึ การพฒั นาดว้ ย เนอื่ งจากการศกึ ษาดา้ นนมี้ แี นวคดิ สำ� คญั วา่ การจะเขา้ ใจพฤตกิ รรมของมนษุ ยใ์ นสงั คม
ได้อยา่ งสมบูรณ์นน้ั จ�ำเปน็ จะต้องศึกษาชวี ติ มนุษย์ในสังคมทุกแงม่ มุ
5. เน้นศึกษาลักษณะทางกายภาพและลักษณะทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ นักมานุษยวิทยา
จะศกึ ษายอ้ นไปสอู่ ดตี อนั ยาวนานของมนษุ ยต์ งั้ แตเ่ รมิ่ มมี นษุ ยพ์ วกแรกเกดิ ขนึ้ บนโลกเมอื่ ประมาณ 3 ลา้ น
ปีมาแล้ว โดยศึกษาท้ังพัฒนาการทางด้านกายภาพและวัฒนธรรมของมนุษย์ต้ังแต่สมัยแรกเริ่มมีขึ้นมา
จนถึงในสมัยปัจจุบัน รวมไปถึงการพยายามคาดคะเนหรือพยากรณ์ลักษณะทางกายภาพและวัฒนธรรม
ของมนุษยชาติในอนาคตด้วย