Page 22 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 22
2-12 ความรทู้ างสังคมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยสี �ำ หรับนกั นเิ ทศศาสตร์
- อีมิล เดอรไ์ คม์ (Emile Durkheim) ซงึ่ มีชีวิตอยูใ่ นช่วงระหว่างปี ค.ศ.1858-1917 ใหค้ วาม
สนใจเรอ่ื งทว่ี า่ สมาชกิ ในสงั คมอยเู่ ปน็ ระเบยี บไดก้ ด็ ว้ ยความเชอื่ และคา่ นยิ มรว่ มกนั การทส่ี งั คมมคี วามเปน็
ระเบียบเป็นเพราะสว่ นต่างๆ ของสังคมมีหน้าที่และท�ำหนา้ ทต่ี อ่ การด�ำรงอยขู่ องสงั คมโดยส่วนรวม
2. ขอบเขตการศึกษาด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
ดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วไปแลว้ วา่ การศกึ ษาเรอื่ งสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยาเปน็ การพยายามท�ำความเขา้ ใจ
มนษุ ยท์ ้งั ในดา้ นความคิด และพฤติกรรมรวมท้งั การมีปฏิสัมพันธร์ ะหวา่ งกัน ดังน้ันในการระบุถงึ ขอบเขต
การศกึ ษาดา้ นสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยาใหช้ ดั เจนจงึ เปน็ เรอ่ื งยาก การจะศกึ ษาเรอ่ื งราวเกย่ี วกบั มนษุ ย์
และสังคมจ�ำเป็นต้องท�ำความเข้าใจขอบเขตความคิดของมนุษย์ ซ่ึงสะท้อนออกมาเป็นพฤติกรรมสังคม
มีนักวิชาการทางสังคมวิทยาพยายามจัดกลมุ่ ความคิดของสงั คมหรอื ความคดิ ของมนุษย์ออกเปน็ เรอื่ งราว
ตา่ งๆ เพื่อใหเ้ ห็นขอบเขตของการศึกษาด้านสงั คมวทิ ยา ดังน้ี
กลมุ่ แรกใชแ้ นวทางการจดั กลมุ่ ความคดิ ของมนษุ ยโ์ ดยเรม่ิ จากตวั ตนของมนษุ ยแ์ ละขยายออกไป
สสู่ งิ่ ตา่ งๆ รอบตัว กลมุ่ นแ้ี บง่ ความคิดของมนษุ ย์ออกเป็น 4 ประเภท คือ
(1) เกีย่ วกบั ตัวมนษุ ย์ (ตนเอง)
(2) เกี่ยวกับกลุ่มมนษุ ย์ (ผ้คู นหรอื กลมุ่ คนในสงั คม)
(3) เกยี่ วกบั แบบแผนการคดิ การกระทำ� ของมนษุ ย์ (วถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ ความเชอ่ื คา่ นยิ ม ประเพณ)ี
(4) เกย่ี วกบั สง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั มนษุ ย์ (วตั ถุ สง่ิ ของ สภาพแวดลอ้ ม สถานการณ์ ปรากฏการณ)์
ในขณะท่ีกลุ่มที่สอง ได้แบ่งแนวทางการคิดของมนุษย์อออกเป็น 5 ประเภท คือ (Bogardus,
1968 อ้างใน สญั ญา สญั ญาววิ ัฒน์, 2545)
(1) ความคิดเกี่ยวกับจักรวาล เป็นความคิดของคนยุคโบราณเกี่ยวกับลักษณะของจักรวาลและ
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับจักรวาล เช่น ความคิดเรื่อง เทพเจ้า เทวดา ลัทธิต่างๆ ซ่ึงท�ำให้เกิด
อุดมการณค์ วามเช่อื พธิ กี รรมตา่ งๆ ตามมา เช่น พธิ บี ชู ายนั ต์
(2) ความคดิ ปรชั ญา เปน็ ความคดิ ทม่ี รี ะดบั ชนั้ ปญั ญาสงู ขนึ้ แตก่ ย็ งั เกยี่ วขอ้ งกบั จกั รวาล โดยลด
ความคลมุ เครอื หรอื พยายามหาความกระจา่ งในสง่ิ แวดลอ้ มของจกั รวาล หาคำ� อธบิ ายสง่ิ ตา่ งๆ อยา่ งมเี หตุ
มผี ลมากข้นึ
(3) ความคิดเก่ียวกับตนเอง เม่ือพัฒนาความเชื่อเรื่องจักรวาลอย่างมีเหตุผลมากพอ มนุษย์เริ่ม
กลบั มาทำ� ความเขา้ ใจตนเอง บคุ ลกิ ลกั ษณะ โครงสรา้ ง การทำ� หนา้ ที่ การกระทำ� การประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องตน
(4) ความคิดเก่ียวกับวัตถุ ซ่ึงเป็นความคิดเก่ียวกับส่ิงที่อยู่ล้อมรอบตัวมนุษย์ จะเพ่ือป้องกัน
ไม่ให้เกิดอันตราย หรือเพ่ือใช้ประโยชน์จากส่ิงเหล่านั้น ความคิดเหล่าน้ีท�ำให้มนุษย์ได้ใช้ประโยชน์และ
พยายามควบคุมธรรมชาติอย่างมาก
(5) ความคิดเก่ียวกับเพื่อนมนุษย์หรือสังคมมนุษย์ นอกจากวัตถุรอบตัวแล้ว การคิดเก่ียวกับ
เพอ่ื นมนษุ ยก์ เ็ ปน็ เรอื่ งทสี่ ำ� คญั ทำ� ใหเ้ กดิ แนวทางการศกึ ษาเรอื่ งสงั คมขนึ้ ความคดิ เหลา่ นเี้ ชน่ ความสมั พนั ธ์
ระหว่างผู้คน ความผกู พนั หรือภาระหน้าทท่ี ค่ี วรมตี ่อกัน แนวโน้มทางสังคม ปญั หาสังคมในดา้ นตา่ งๆ