Page 17 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 17

ความร้ดู า้ นสงั คมวทิ ยาและมานุษยวิทยา 2-7

มนุษยใ์ นสงั คมว่ามีสาเหตหุ รือปจั จัยทแี่ ตกตา่ งกนั สง่ ผลให้มนุษย์มีความหลากหลาย รวมทั้งต้องปรบั ตัว
เพอื่ ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มทแ่ี ตกตา่ งกนั ไมใ่ ชผ่ ลมาจากความเหนอื กวา่ ของเชอื้ ชาตหิ รอื เผา่ พนั ธแ์ุ ตอ่ ยา่ งใด
และมานษุ ยวทิ ยามงุ่ ตอบคำ� ถามวา่ อะไรทำ� ใหเ้ ราเปน็ มนษุ ย์ การเปน็ มนษุ ยห์ มายความวา่ อยา่ งไร มนษุ ยม์ ี
ววิ ฒั นาการทางกายภาพและวฒั นธรรมมาอยา่ งไร ทำ� ไมคนจงึ มพี ฤตกิ รรมเหมอื นทพ่ี วกเขากำ� ลงั กระทำ� อยู่
และอะไรทำ� ใหเ้ ราแตกต่างไปจากมนุษย์ในสงั คมอืน่ ๆ ที่มรี ะบบความเชอื่ ต่างกนั ไป เปน็ ต้น

             ตารางที่ 2.1 ความแตกต่างกันของการศึกษาด้านสังคมวิทยากับมานุษยวิทยา

        สังคมวิทยา                                   มานุษยวิทยา

1.	 ศ กึ ษาเฉพาะปรากฏการณท์ เี่ กดิ จากพฤตกิ รรมและ 1.	 ศึกษาทางกายภาพและวฒั นธรรมของมนุษย์
   ความสมั พนั ธทางสงั คมของมนุษย์

2.	 ถอื ว่าสถาบนั ทางสงั คมเป็นแกน่ ของวิชา  2.	 ถือว่าประวัติวฒั นธรรมเปน็ แกน่ ของวชิ า

3.	 ใช้วิธีการศึกษาวิจัยในชุมชนขนาดใหญ่อย่างเป็น 3.	 ใชว้ ธิ กี ารศกึ ษาวจิ ยั ในชมุ ชนขนาดเลก็ อยา่ งไมเ่ ปน็
ทางการ                                       ทางการ

4. 	เน้นศึกษาในสังคมของผู้ศึกษา ซ่ึงเป็นสังคมท่ี 4.	 เน้นการศกึ ษาสังคมท่ีดอ้ ยกวา่ (นักมานุษยวิทยา
เจริญและเนน้ ศกึ ษาองค์กรทางสงั คมสมยั ใหม่  ตะวนั ตก) โดยเฉพาะสงั คมปา่ เถอ่ื น ลา้ หลงั สงั คม
                                             ชาวนา

2.	 ความส�ำคัญ

       การศกึ ษาเรอื่ งราวเกยี่ วกบั มนษุ ยแ์ ละสงั คมมนษุ ยซ์ ง่ึ กค็ อื ศาสตรด์ า้ นสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา
ทำ� ใหเ้ ราเขา้ ใจผคู้ น และพฤตกิ รรมของผคู้ นในสงั คม เปน็ การใชห้ ลกั การทางวทิ ยาศาสตรห์ รอื หลกั เหตแุ ละ
ผลเพอ่ื คน้ หาความจรงิ ทจี่ ะมาอธบิ ายพฤตกิ รรมของมนษุ ยใ์ นสงั คมเพอื่ ใหเ้ ราเขา้ ใจ “ธรรมชาต”ิ ของมนษุ ย์
ทง้ั ตนเอง สงั คมของตน ผอู้ นื่ และสงั คมของคนอน่ื ดงั นน้ั ในการศกึ ษาสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยามคี วาม
ส�ำคัญดงั นี้

       2.1		ชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจในมนษุ ยแ์ ละการถา่ ยทอดทางสงั คม การศกึ ษาวชิ าสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา
ช่วยให้เข้าใจการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ที่ต่างกันไปในชนกลุ่มต่างๆ รวมทั้งเข้าใจการถ่ายทอดสิ่งต่างๆ
ทางสงั คมทท่ี ำ� ใหม้ นษุ ยเ์ กดิ การเรยี นรแู้ ละอยรู่ ว่ มกนั สงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยาเหน็ ความสำ� คญั ในการ
มีปฏิสัมพันธ์และการปรับตัวของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมท้ังทางกายภาพและทางสังคม วิชาน้ีท�ำให้เรามอง
ความคดิ ทมี่ กี ันอยู่ท่วั ไปเกี่ยวกบั ธรรมชาตขิ องมนุษยอ์ ยา่ งพินิจพิเคราะห์

       2.2		ลดความนยิ มในชาตพิ นั ธข์ุ องตวั หรอื ลดอคติ การทำ� ความเขา้ ใจผคู้ นในสงั คมจะชว่ ยลดความ
นยิ มในชาตพิ นั ธข์ุ องตวั หรอื ลดอคตแิ หง่ ชาตพิ นั ธ์ุ (ethnocentrism) ของมนษุ ยใ์ นสงั คมตา่ งๆ คอื การมอง
โลกโดยผา่ นมมุ มองเฉพาะของแนวคดิ ความเชอื่ คา่ นยิ ม ตลอดจนวฒั นธรรมของตน หรอื ผา่ นสถานภาพ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22