Page 21 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 21

ความรู้ดา้ นสังคมวทิ ยาและมานษุ ยวิทยา 2-11
       ตอ่ มาในสมยั ฟน้ื ฟศู ลิ ปะวทิ ยาของโลกตะวนั ตกซง่ึ เปน็ ยคุ วทิ ยาศาสตรแ์ ละมนษุ ยศาสตรส์ มยั ใหม่
ได้มีการฟื้นฟูการศึกษาเก่ียวกับสมัยคลาสสิกอีกครั้ง ท�ำให้เกิดนักวิชาการมากข้ึน ต่างคนต่างพยายาม
เพ่ิมพูนความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ เช่น กาลิเลโอ และ ดาร์วินชี ที่สนใจปัญหา
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และบางคนไดศ้ กึ ษาเกย่ี วกบั มนษุ ยแ์ ตก่ เ็ ปน็ ในทางวทิ ยาศาสตร์ เชน่ วซี าลนิ ส์
(Vesalins) ศึกษาการผ่าตัดร่างกายคน ฮาร์วี (Harvey) ศึกษาการหมุนเวียนของกลุ่มเลือด แต่ก็มี
นักวิชาการบางคนในยุคสมัยน้ีพยายามสร้างวัฒนธรรมและสังคมในอุดมคติขึ้น และฟื้นฟูการศึกษาแบบ
คลาสสิกโดยผสมผสานเข้ากับความเช่ือของศาสนาคริสต์ ท�ำให้มีการศึกษาเน้นไปทางมนุษยศาสตร์มาก
ย่งิ ขน้ึ
       ส่ิงท่ีกระตุ้นให้เกิดความสนใจในวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในยุโรปก็คือ การส�ำรวจทาง
ทะเล เพราะทำ� ใหไ้ ดพ้ บเหน็ ผคู้ นทม่ี คี วามแตกตา่ งกนั ในสงั คมทแ่ี ตกตา่ งไปจากตนเอง ทง้ั ทางดา้ นกายภาพ
และวัฒนธรรม พร้อมกันนี้ก็ได้มีความพยายามจะศึกษาพฤติกรรมมนุษย์และสังคมมนุษย์อย่างเป็น
วิทยาศาสตร์มากขึ้นในยุคน้ี (ศตวรรษที่ 18) จากการศึกษาเปรียบเทียบสังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
ออกไปในยุคท่ีมีการส�ำรวจและเดินทางทางทะเลไปยังดินแดนอื่นๆ ท�ำให้ชาวตะวันตกหันไปสนใจศึกษา
วถิ ชี วี ติ ความคดิ ของพวกตนเอง และพวกชนเผา่ ในสงั คมอน่ื ๆ ทำ� ใหเ้ กดิ ความเจรญิ ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ
สังคมศาสตร์มากย่ิงข้ึน จนน�ำไปสู่การศึกษาปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมของมนุษย์อย่างมีระบบซ่ึงรวม
เอาการศกึ ษาพฤตกิ รรมมนษุ ยไ์ วด้ ว้ ย จนกลายเปน็ การศกึ ษาดา้ นสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยาในเวลาตอ่ มา
       เราจงึ พบวา่ ในศตวรรษท่ี 18 มีการรวบรวมขอ้ มลู บนั ทกึ เกยี่ วกบั มนษุ ย์ สงั คมและอารยธรรมของ
มนุษย์โดยเฉพาะนักวิชาการชาวตะวันตกได้พยายามจัดข้อมูลเหล่านั้นให้เป็นระบบท�ำให้เกิดการศึกษา
เปรยี บเทยี บมนุษย์และสงั คมทีม่ ีวถิ ชี ีวิต วัฒนธรรมประเพณี ความเชอื่ และค่านิยมที่ตา่ งกนั และเร่ิมสนใจ
ในแหลง่ กำ� เนดิ และพฒั นาการทางวฒั นธรรมของสงั คมตา่ งๆ นกั ปรชั ญาสงั คมทท่ี ำ� งานเหลา่ นซ้ี งึ่ เปน็ ทร่ี จู้ กั
เช่น ฮอบส์ (Hobbes) ลอ็ ค (Locke) และ รสุ โซ (Rousseau) จนกระทง่ั ในชว่ งต้นศตวรรษที่ 19 ไดม้ ี
การจัดตั้งสถาบันทางวิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาชาติพันธุ์วิทยาข้ึนในยุโรปและอเมริกา และเริ่มมีการจัด
ตงั้ พพิ ธิ ภณั ฑข์ น้ึ ตามประเทศตา่ งๆ มกี ารจดั แสดงสง่ิ ของเครอื่ งใชแ้ ละวฒั นธรรมดา้ นตา่ งๆ ขนึ้ ในพพิ ธิ ภณั ฑ์
ทำ� ให้ความสนใจศึกษาเรอ่ื งราวเกย่ี วกับสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยากระจายไปเกือบทุกประเทศในโลก
       ทงั้ นน้ี กั วชิ าการทศี่ กึ ษาดา้ นสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยาทส่ี ำ� คญั มหี ลากหลายทา่ น ในทนี่ ขี้ อยก
ตวั อย่างบคุ คลท่ีมผี ลงานเป็นท่อี ้างอิงอยา่ งกว้างขวาง พอสงั เขป ดงั นี้
       - ออกุสต์ ก็องต์ (Auguste Comte) นักสังคมวิทยาชาว ซ่ึงมีชีวิตอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.
1798-1857 ซง่ึ เปน็ ผ้รู เิ รม่ิ ต้งั ชือ่ สังคมวิทยา (Sociology)
       - เฮอร์เบิรต์ สเปนเซอร์ (Herbert Spencer) ซงึ่ มีชีวิตอยูใ่ นชว่ งระหว่างปี ค.ศ.1820-1903 น�ำ
แนวคิดดา้ นชีววิทยา (โครงสร้างหนา้ ทีข่ องอวัยวะในรา่ งกาย) มาอธบิ ายสงั คม
       - คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) ซึ่งมีชวี ติ อยูใ่ นช่วงระหวา่ งปี ค.ศ.1818-1883 พยายามเช่ือมโยง
พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจซ่ึงมีความส�ำคัญต่อการด�ำรงอยู่กับการเปล่ียนแปลงทางสังคม และเน้นเรื่องสังคม
มคี วามขดั แยง้ ตอ้ งเปลยี่ นแปลงแบบปฏวิ ตั ิ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26