Page 16 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 16

2-6 ความรทู้ างสงั คมศาสตร์และเทคโนโลยสี �ำ หรับนักนิเทศศาสตร์
       กล่าวโดยสรุป สังคมวิทยาคือ วิชาท่ีว่าด้วยการศึกษาพฤติกรรมและความสัมพันธ์ของมนุษยใ์ น

สงั คม รวมทง้ั ผลกระทบของพฤตกิ รรมหรอื ความสมั พนั ธน์ น้ั ทม่ี ตี อ่ การดำ� รงชวี ติ และการเปลยี่ นแปลงของ
สังคมมนษุ ย์

       สว่ นคำ� วา่ มานษุ ยวทิ ยา (Anthropology) หมายถงึ การศกึ ษาเรอื่ งมนษุ ยแ์ ละผลงานของมนษุ ย์
คำ� วา่ anthropology มาจากศพั ทภ์ าษากรกี คอื anthropos หมายถงึ มนษุ ย์ (man) และ logos หมายถงึ
ถ้อยค�ำหรอื ค�ำพูด การศกึ ษา การคน้ ควา้ ทำ� ความเขา้ ใจ (study)

       พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยาอังกฤษ–ไทย (2532) ได้ให้ความหมายของมานุษยวิทยาไว้ว่า
มานุษยวิทยาเป็นทั้งวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและสังคมศาสตร์ แต่เดิมวิชาน้ีมักจะศึกษาเฉพาะมนุษย์และ
วัฒนธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์ หรือวัฒนธรรมท่ีไม่เป็นอารยธรรมยุคก่อนประวัติศาสตร์หรือวัฒนธรรม
แบบดงั้ เดมิ กบั ได้สนใจเฉพาะมนุษย์ และวัฒนธรรมทไี่ มเ่ ปน็ อารยธรรมแบบตะวันตก แต่ในระยะหลงั ๆ นี้
มีแนวโน้มที่จะขยายขอบเขตของมานุษยวิทยาไปรวมศึกษาเรื่องวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาและยุโรป
ปจั จุบันมากย่ิงขน้ึ

       ฮาวิแลนด์ (Haviland, 1975) ให้ความหมายเกี่ยวกับ มานุษยวิทยา ว่า คือการศึกษาเร่ือง
มนษุ ยชาตเิ พอื่ หาขอ้ สรปุ ทเ่ี ปน็ ประโยชนเ์ กยี่ วกบั มนษุ ยแ์ ละพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ และเพอื่ ใหม้ คี วามเขา้ ใจ
ทปี่ ราศจากอคตถิ งึ ความแตกตา่ งของมนุษย์

       จรุ ี จลุ ละเกศ (2516) ไดใ้ หค้ วามหมายของมานษุ ยวทิ ยาวา่ มงุ่ ศกึ ษาเกยี่ วกบั เรอ่ื งราวของมนษุ ย์
ตลอดจนบรรดาผลงานทง้ั หลายทม่ี นษุ ยไ์ ดส้ รา้ งสรรคข์ นึ้ เพอื่ ประโยชนใ์ นการเขา้ ใจเรอื่ งราวของมนษุ ยไ์ ด้
กว้างขวางขึ้น และมีหลกั เกณฑ์ยง่ิ ขึ้น

       หากแปลความหมายอย่างกวา้ งๆ แล้ว มานุษยวทิ ยา จะหมายถึง ศาสตร์หรือวิชาทวี่ า่ ดว้ ยการ
ศกึ ษาค้นควา้ ท�ำความเข้าใจมนุษย์ ค้นหาคำ� ตอบต่างๆ เกี่ยวกบั วิวัฒนาการของมนษุ ย์ สังคมมนุษย์และ
ชวี ติ ผคู้ นในสงั คมไดพ้ ฒั นาขนึ้ มาจนมคี วามแตกตา่ งกนั ไดอ้ ยา่ งไร นอกจากนย้ี งั ศกึ ษาเกย่ี วกบั ความแตกตา่ ง
ของมนษุ ยชาตใิ นทกุ รปู แบบ ไมว่ า่ ในแงจ่ ติ วทิ ยา แงช่ วี วทิ ยาหรอื ในแงว่ ฒั นธรรม ทงั้ อดตี และปจั จบุ นั และ
ถือว่าพฤติกรรมทุกด้านของมนุษย์มีความส�ำคัญในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งท่ีจะใช้ความเข้าใจชีวิตของ
มนุษยชาตทิ ัว่ โลกได้ (สุรชิ ยั หวันแก้ว, 2548) มานษุ ยวิทยา มลี กั ษณะโดยท่ัวไปคือ

       1)	 เปน็ ศาสตรท์ เี่ กย่ี วกบั การศกึ ษาเรอ่ื งของมนษุ ย์ ตลอดจนผลงานทง้ั หลายทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ เพอ่ื
เขา้ ใจเรือ่ งราวของมนุษยอ์ ย่างกวา้ งขวาง และมีหลกั เกณฑม์ ากข้ึน

       2)	 เป็นการศึกษาทง้ั วิทยาศาสตรธ์ รรมชาติและวทิ ยาศาสตร์สงั คม
       3)	 เปน็ วชิ าทศี่ กึ ษาเกย่ี วกบั เผา่ พนั ธ์ุ วงศว์ านของมนษุ ยโ์ ดยเฉพาะ เปรยี บเสมอื นเปน็ กระจกเงา
สอ่ งใหเ้ หน็ มนษุ ยชาติทัว่ ทง้ั โลก ในทุกแง่ทกุ มมุ โดยเปรียบเทยี บพฤติกรรมด้านตา่ งๆ
       4)	 เน้นการศึกษาความแตกต่างของมนุษยชาติในทุกรูปแบบทั้งในแง่จิตวิทยา ชีววิทยา และ
วัฒนธรรม
       มานุษยวิทยาเป็นวิชาท่ีศึกษาและเข้าใจมนุษย์เช่นเดียวกับสังคมวิทยา เพียงแต่ต่างจาก
สังคมวิทยาในแง่ประเดน็ และเนอ้ื หาการศึกษา ในขณะท่สี ังคมวทิ ยาเน้นศึกษาเรอื่ งพฤติกรรมและความ
สัมพันธ์ของผู้คนตลอดจนผลกระทบและการเปล่ียนแปลงในสังคม มานุษยวิทยามองความแตกต่างของ
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21