Page 18 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 18

2-8 ความรทู้ างสงั คมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยสี �ำ หรบั นักนเิ ทศศาสตร์
ทางสงั คมของตวั เอง มนษุ ยท์ วั่ โลกมอี คตมิ กั มองสง่ิ ตา่ งๆ ตามความคดิ ทเ่ี ปน็ แบบฉบบั ในวฒั นธรรมของตวั
มีค่านิยมตามที่ถูกสอนให้เห็นคุณค่า มองความหมายของชีวิตในเป้าหมายที่นิยามโดยวัฒนธรรมของตัว
แตอ่ คติเป็นมากกวา่ ความคดิ และการมองปรากฏการณต์ ่างๆ อคตยิ ังเป็นแนวทางของการปฏบิ ัติหรอื การ
กระท�ำทใ่ี ชต้ ัดสินวัฒนธรรมอ่นื โดยใช้มาตรฐานของวฒั นธรรมของตน คนทุกสังคมในโลกมองวัฒนธรรม
ของตนดกี วา่ เหนอื กวา่ ของสงั คมอน่ื และประชากรในสงั คมจำ� นวนมากจะมองคนในวฒั นธรรมอน่ื วา่ มคี วาม
เปน็ มนษุ ยน์ อ้ ยกวา่ ตน แมว้ า่ ทกุ สงั คมจะมอี คติ แตอ่ คตขิ องคนในสงั คมตะวนั ตก ควรไดร้ บั ความสนใจจาก
นักวิชาการในประเทศก�ำลังพัฒนา เช่น ประเทศไทยเป็นพิเศษ เพราะมันมีผลกระทบอย่างมหาศาลต่อ
ประชากรไทยและประชากรในประเทศด้อยพัฒนาหรือก�ำลังพัฒนา ท่ีเป็นสังคมขนาดเล็กมีเทคโนโลยี
ระดับปานกลางหรือระดับต่�ำ  สถานการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่น�ำไปสู่การเผยแพร่อารยธรรมตะวันตกได้
ท�ำให้ชาวตะวันตกมคี วามเชอ่ื อยา่ งแรงว่า สังคมของเขาถกู ตอ้ งดกี ว่าเหนือกวา่ สังคมก�ำลังพัฒนาทงั้ หมด
ชาวตะวันตกจึงอยใู่ นฐานะที่ควรใส่ความคิด ความเชื่อ ค่านยิ มของตัวรวมทั้งพฤติกรรมเขา้ ไปในสังคมอืน่
ทด่ี ้อยกวา่ เพราะเชอื่ ว่าตะวนั ตกมเี ทคโนโลยที ี่เหนือกว่ากล่มุ อ่ืนๆ คนในประเทศกำ� ลังพัฒนา จงึ เรียนรทู้ ี่
จะต้องการสินค้าต่างๆ จากสังคมตะวันตกอย่างรวดเร็ว พวกเขายอมรับ ตู้เย็น พัดลม ทีวี หม้อหุงข้าว
ไฟฟ้า เครื่องซักผ้าและส่ิงอื่นๆ อย่างเต็มใจ การกลายเป็นอุตสาหกรรม (industrialization) และการ
กลายเปน็ เมอื ง (urbanization) ปรากฏการณท์ างสงั คมทกี่ ำ� ลงั เกดิ ขนึ้ ในโลกท่ี 3 หรอื ในสงั คมกำ� ลงั พฒั นา
ท้ังหลายนั้นก�ำลังมีผลกระทบท้ังในแง่บวกและแง่ลบต่อประชากรในประเทศก�ำลังพัฒนาเหล่านั้นอย่าง
มหาศาลในปัจจุบนั

       ในระดบั ของประเทศกำ� ลงั พฒั นาเชน่ ประเทศไทยกเ็ ชน่ เดยี วกนั ประชากรในเมอื งมกั คดิ วา่ คา่ นยิ ม
ความเชอ่ื เทคโนโลยขี องตวั ดกี วา่ เหนอื กวา่ คา่ นยิ มของคนในชนบท คนเมอื งมกั มองคนชนบทวา่ นา่ สงสาร
ดอ้ ยพัฒนา ขาดปจั จยั ต่างๆ ทีจ่ �ำเป็นในการด�ำรงชวี ิต และมักจะใส่ความคิดความเช่ือทางเทคโนโลยีของ
ตัวรวมทั้งการปฎิบัติต่างๆ ลงไปในสังคมชนบท โดยท่ีมีการกระท�ำดังกล่าวอย่างเป็นทางการ คือการที่
รฐั บาลถอื วา่ มอี ำ� นาจอนั ชอบธรรมทจ่ี ะพฒั นาชนบทโดยการใสโ่ ครงการพฒั นาตา่ งๆ ลงไปในชมุ ชนชนบท
แต่ขาดความใส่ใจในปรัชญาของท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาดั้งเดิมของชาวบ้านซ่ึงการศึกษาสังคมวิทยาและ
มานษุ ยวทิ ยาจะทำ� ให้การมองคนในสงั คมอ่นื หรือกระทงั่ คนในสังคมของตนเองด้วยการมีอคตนิ ้อยลง

       2.3 เสนอหนทางแก้ไขปัญหาสังคม สงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยาไมเ่ พยี งทำ� ใหผ้ คู้ นเขา้ ใจมนษุ ย์
ในสงั คมดว้ ยกนั และรับร้ปู ญั หาท่ีเกดิ ข้ึนในสงั คมเท่านัน้ แต่ยังเปน็ การหาแนวทางแก้ปญั หาหรือป้องกัน
ปญั หาในสงั คมได้อีกทางหน่งึ เมื่อรับรูส้ าเหตขุ องปัญหา เราอาจพยากรณเ์ หตุการณ์ของสังคมในอนาคต
จากการท�ำความเขา้ ใจอดตี หรอื ปจั จบุ นั เพอ่ื ปอ้ งกนั หรอื ควบคมุ ไมใ่ หป้ ญั หาเกดิ ขน้ึ หรอื ลกุ ลามไปมากขนึ้
เราจึงพบว่าการศึกษาด้านสังคมวิทยาและมนุษยวิทยาไม่เพียงช้ีให้เห็นถึงปัญหาสังคมซ่ึงทุกคนควร
ตระหนักเท่านั้น แต่ยังน�ำไปสู่การเตรียมการป้องกันแก้ไขปัญหาในอนาคตต่อไปอีกด้วย เช่น การศึกษา
เร่ืองความเหลอ่ื มลำ�้ ทางสังคมทำ� ใหน้ ำ� ไปส่คู วามพยายามทจ่ี ะขจัดหรอื ลดทอนเรื่องดงั กล่าว เปน็ ต้น
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23