Page 25 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 25

ความรูด้ ้านสังคมวิทยาและมานษุ ยวิทยา 2-15
มานุษยวทิ ยาสงั คม จะมีเน้อื หาเหมอื นกบั วิชาสังคมวทิ ยา แตจ่ ะเนน้ เปรียบเทยี บความสมั พันธ์ของคนใน
ชมุ ชนหรือสังคมตา่ งๆ ซึ่งต่างจากสงั คมวิทยาทเี่ น้นความสมั พนั ธ์ของคนในชุมชนนั้นๆ

            2.4 ชาติพันธุ์วิทยา (Ethnology หรือ Cultural Anthropology) ชาติพันธุ์วิทยา หรือ
มานษุ ยวทิ ยาวฒั นธรรม เปน็ การศกึ ษาเปรยี บเทยี บความเหมอื นและความแตกตา่ งกนั ของวฒั นธรรมตา่ งๆ
ทม่ี ีอยใู่ นโลกปจั จบุ ัน โดยมี “วฒั นธรรม” เป็นกรอบแนวคดิ ทส่ี ําคญั ท่สี ดุ ศกึ ษาเก่ียวกับพฤตกิ รรมมนุษย์
ในสังคม ทําการวเิ คราะห์เปรยี บเทยี บและอธบิ ายพฤติกรรมมนุษยใ์ นทุกแง่ทกุ มุมของชีวติ ทางสังคม เพื่อ
วางกฎเกณฑท์ ว่ั ไปเกยี่ วกับพฤตกิ รรมมนุษยใ์ ห้เปน็ ทยี่ อมรบั โดยท่ัวไปในสังคมต่างๆ

            2.5 มานษุ ยวทิ ยาภาษาศาสตร์ (Linguistic Anthropology) เนน้ ศกึ ษาภาษา ซง่ึ เปน็ สว่ นหนง่ึ
ของวัฒนธรรม ส่วนมากจะศึกษาภาษาของสังคมที่ยังไม่มีตัวอักษรใช้ ซ่ึงเป็นการศึกษาที่สําคัญ เพราะ
ภาษาจะชว่ ยให้มนษุ ย์พฒั นาวฒั นธรรมขน้ึ มาได้ โดยจะศกึ ษาว่า

                - ภาษาของมนุษย์เรม่ิ มีเมือ่ ใด
                - ภาษาเกดิ ขึ้นได้อยา่ งไร
                - ภาษามีววิ ัฒนาการอยา่ งไร
                - ภาษาตา่ งๆ มีส่วนเก่ยี วขอ้ งสัมพนั ธ์กนั หรอื ไม่อยา่ งไร
                - ในปจั จุบันจะสนใจศกึ ษาสิ่งท่มี อี ยูร่ วมกันเป็นสากลของภาษาตา่ งๆ ทัว่ โลก ความ
สมั พนั ธ์ของภาษากับวฒั นธรรมดา้ นอื่นๆ ซ่งึ จะทาํ ให้เขา้ ใจพฤติกรรมของมนษุ ย์

                                            มานษุ ยวิทยา
                                           Anthropology

              มานุษยวิทยากายภาพ            มานุษยวทิ ยาวฒั นธรรม
             Physical Anthropology         Cultural Anthropology

โบราณชีววทิ ยามนุษย์    ชวี วทิ ยาประชากร
Human Paleontology       และพนั ธุศาสตร์
                      Human Population
                      Biology and Human

                           Genetics

 โบราณคดี    ชาตพิ นั ธวุ์ ิทยา ชาติพันธุว์ รรณา มานษุ ยวทิ ยาสงั คม ภาษาศาสตร์
Archaeology   Ethnology Ethnography Social Anthropology Linguistics

                      ภาพที่ 2.1 ขอบเขตการศึกษาด้านมานุษยวิทยา
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30