Page 30 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 30

2-20 ความรู้ทางสังคมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยสี �ำ หรบั นักนิเทศศาสตร์

                         ความน�ำ

       การศึกษาเรื่องสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเป็นการศึกษาพฤติกรรมมนุษย์และสังคมท่ีมนุษย์มี
ปฏสิ มั พนั ธซ์ ง่ึ กนั และกนั จะมหี ลากหลายแนวคดิ และทฤษฎี ในตอนนจ้ี ะประกอบดว้ ย 6 เรอื่ ง คอื แนวคดิ
ทางมานุษยวิทยา และอีกส่ีเรื่องย่อยซ่ึงเป็นแนวคิดทฤษฎีหลักที่นักสังคมวิทยาใช้ในการศึกษาสังคม อัน
ประกอบด้วยโครงสร้างหน้าท่ี การปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ ความขัดแย้ง และการแลกเปล่ียน อย่างไร
กต็ ามนกั ศกึ ษาอาจพบวา่ มแี นวคดิ ดา้ นสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยาอกี มากทไ่ี มส่ ามารถรวบรวมไวใ้ นทนี่ ้ี
ได้ท้งั หมด เชน่ แนวคดิ เรื่องมายาคติ สงั คมเสย่ี งภัย การครอบงำ� ทางวฒั นธรรม เปน็ ตน้ สว่ นเร่อื งท่ี 6
จะเป็นการปรับใชแ้ นวคดิ ดา้ นสังคมวทิ ยาและมานษุ ยวิทยาส�ำหรบั นกั นิเทศศาสตร์

เรื่องท่ี 2.2.1
แนวคิดทฤษฎีโครงสร้างหน้าท่ี		

       แนวคดิ ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ (Structural-functionalism or Structural-functional theo-
ry) เป็นการศึกษาสังคมโดยพิจารณาส่วนต่างๆ ของสังคมแต่ละส่วน ที่มีลักษณะเป็นระบบซ่ึงมีองค์
ประกอบย่อยท่ีต่างก็ท�ำหน้าท่ีของตนเพ่ือให้สังคมด�ำรงอยู่ได้อย่างมีเสถียรภาพ องค์ประกอบต่างๆ เช่น
ครอบครัว ศาสนา การเมือง เปน็ ต้น โดยศึกษาถึงหน้าทีข่ องสว่ นต่างๆ มคี วามสัมพนั ธ์ซ่งึ กันและกนั เป็น
สังคมทั้งหมดอย่างไร ซ่ึงทฤษฎีหลักหรือทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่นี้ก็ได้น�ำไปใช้ในสาขามานุษยวิทยาเพื่อ
ศกึ ษาพฤตกิ รรมของมนุษยเ์ ช่นกนั

ท่ีมาของทฤษฎีโครงสร้างหน้าท่ี

       นกั สงั คมวทิ ยาคลาสกิ ทเี่ นน้ ใหค้ วามสำ� คญั ในเรอ่ื งนป้ี ระกอบดว้ ย ออกสุ กอ็ งต์ (Auguste Comte)
เฮอรเ์ บิร์ต สเปนเซอร์ (Herbert Spencer) และแอมิล เดอร์ไคม์ (Emile Durkheim) โดย ก็องตเ์ สนอ
ใหผ้ ทู้ ศี่ กึ ษาสงั คมควรเขา้ ใจระบบสงั คมดว้ ยการเปรยี บเทยี บกบั ระบบอนิ ทรยี ข์ องรา่ งกายตามหลกั ชวี วทิ ยา
เม่ือชีววิทยาศึกษาระบบอินทรีย์ในร่างกายที่ท�ำงานในหน้าท่ีต่างกัน เซลล์ที่ท�ำหน้าท่ีต่างๆ ตามหลัก
ชวี วิทยาก็เทยี บไดก้ บั โครงสร้างต่างๆ ในชุมชน หรอื สงั คมทีป่ ระกอบกนั ข้นึ มาซงึ่ ยอ่ มทำ� หนา้ ท่ตี ่างๆ กัน
หากระบบทำ� งานตามหนา้ ท่กี ็จะท�ำให้เกิดสังคมทีม่ ีดลุ ยภาพและเป็นสังคมทด่ี ี (สุรชิ ัย หวนั แกว้ , 2548)

       สเปนเซอร์ มมี มุ มองคลา้ ยกบั กอ็ งต์ แตม่ งุ่ ความสนใจทผ่ี กู้ ระทำ�  (หนา้ ท)่ี ซง่ึ มงุ่ แสวงหาประโยชน์
เพอ่ื ตนเอง โดยเขาเชอ่ื วา่ ทง้ั ระบบอนิ ทรยี ข์ องรา่ งกายและระบบสงั คมตา่ งมพี ฒั นาการและเจรญิ เตบิ โต มี
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35