Page 33 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 33
ความรู้ด้านสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวิทยา 2-23
1. ตอ้ งดาํ เนนิ การโดยอาศัยตวั แบบเชิงพรรณนาของสังคม ซ่งึ ประกอบด้วย สว่ นสําคญั ต่างๆ ที่
มปี ฏสิ ัมพันธ์ต่อกนั และกัน จะก่อให้เกดิ รูปลกั ษณ์อนั เป็นแบบแผนข้ึน แบบแผนดงั กลา่ ว จะทาํ ใหร้ ะบบมี
ความแตกตา่ งไปจากสภาพแวดลอ้ มของระบบ องคป์ ระกอบของระบบจะมคี วามเกยี่ วพนั กนั ในรปู ของการ
สังเคราะห์และปฏิสมั พนั ธ์ขององค์ประกอบตา่ งๆ น้ี จะไม่ถกู กําหนดโดยพลังครอบงําใดๆ
2. ต้องให้ความสําคัญในเร่ืองการกระทําและความเป็นระเบียบ ท้ังในระดับมหภาคและจุลภาค
ทง้ั การกระทาํ ทีม่ ีเหตุและการแสดงออกต่างๆ ด้วย ซง่ึ มขี อบเขตท่กี ว้างขวางขึ้น
3. บูรณาการเป็นสิ่งท่ีมีความสําคัญ เพราะการเบ่ียงเบนและการควบคุมทางสังคมเป็นสิ่งท่ีทุก
สังคมไม่อาจหลีกเล่ียงได้ บูรณาการทําให้สังคมมีดุลยภาพ แต่เป็นดุลยภาพที่เกิดจากดุลยภาพของ
องค์ประกอบตา่ งๆ ของระบบ รวมกบั ดลุ ยภาพท่ีเป็นพลวตั
4. บคุ ลกิ ภาพ วฒั นธรรม และระบบสงั คม มคี วามสาํ คญั ตอ่ โครงสรา้ งสงั คมและการแทรกซมึ ของ
ระบบดังกล่าวเข้าไปภายใน จะก่อให้เกิดความตึงเครียด จึงทําให้สังคมเกิดความเปล่ียนแปลง และต้อง
ควบคมุ อยตู่ ลอดเวลา
5. การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม กอ่ ใหเ้ กดิ ความแตกตา่ งในระบบสงั คม ระบบวฒั นธรรมและระบบ
บคุ ลกิ ภาพ การเปลย่ี นแปลงจงึ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ผลของการปฏบิ ตั ติ าม หรอื ความกลมกลนื เปน็ อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั
แต่เปน็ ผลจากความกดดันของบคุ คลและสถาบนั ทางสงั คม
6. ทฤษฎีโครงสรา้ งหนา้ ทน่ี ยิ มแนวใหม่ ต้องเป็นอสิ ระในการสร้างแนวความคิดและทฤษฎี จาก
ระดบั อน่ื ๆ ของการวเิ คราะหท์ างสงั คมวิทยา (สเุ ทพ สนุ ทรเภสัช, 2540)
แนวคดิ หนา้ ท่ีนยิ มอาจสรปุ ไดด้ งั นี้ (สรุ ิชัย หวันแก้ว, 2548)
- เป็นการเปรียบเทียบสังคมกับร่างกายมนุษย์โดยถือว่าร่างกายทั้งหมดเป็นระบบใหญ่ ซึ่ง
ประกอบด้วยระบบยอ่ ยต่างๆ ทีต่ ้องพึง่ พาอาศยั กนั
- ระบบใหญ่ต้องมีหน้าที่พ้ืนฐานคือรักษาเสถียรภาพของทั้งระบบไว้ หากสูญเสียการท�ำหน้าที่
จะท�ำให้ระบบทงั้ หมดเสยี ไป
- ระบบใหญแ่ ละระบบยอ่ ยตา่ งมคี วามตอ้ งการเฉพาะสว่ น และความตอ้ งการโดยรวม และความ
ตอ้ งการเหลา่ นคี้ วรสอดคลอ้ งกัน ไมเ่ ช่นน้นั การท�ำหน้าทจี่ ะไม่สมบูรณ์
- เพ่อื ใหเ้ กิดความสมดลุ จะตอ้ งมกี ารแบง่ งานกนั ตามหนา้ ที่ โดยตอ้ งสอดประสานกัน
- หากระบบยอ่ ยทำ� หนา้ ทไ่ี ด้ดี ระบบทัง้ หมดกจ็ ะมีเสถียรภาพ
- การท�ำหนา้ ทข่ี องระบบย่อยจะมีสองประเภทคือ หน้าทป่ี ระจ�ำซ่ึงดำ� เนินไปในภาวะปกติ และ
หน้าทีพ่ ิเศษในการปรบั ตัวภายใต้ภาวะท่ีมกี ารเปลีย่ นแปลงเพ่อื รักษาสว่ นรวมทัง้ หมดเอาไว้