Page 36 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 36
2-26 ความรทู้ างสงั คมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีส�ำ หรับนักนิเทศศาสตร์
โครงสร้างส่วนบน (superstructure)
ความคดิ
และคา่ นิยม
(ideas & values)
สถาบันทางสังคม เช่น
การเมอื ง ศาสนา การศึกษา ครอบครัว
กระบวนการทางสงั คมและเทคโนโลยี
ของการผลิตทางเศรษฐกจิ
โครงสร้างส่วนล่าง (substructure)
ภาพท่ี 2.2 โครงสร้างของสังคมตามแนวคิดของ คาร์ล มาร์กซ์
ที่มา: ธีราพร ทวีธรรมเจริญ. (2553). “การเรียนรู้วิถีชุมชนจากแนวคิดในทฤษฎีโครงสร้างทางสังคมและทฤษฎีชุมชน.” วารสาร
วชิ าการ มหาวทิ ยาลัยหอการคา้ ไทย ปีท่ี 30 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-มนี าคม 2553 หนา้ 113
มารก์ ซไ์ ดแ้ บง่ สงั คมตามพฒั นาการของความขดั แยง้ ออกเปน็ 5 ยคุ โดยแตล่ ะยคุ จะมเี รอื่ งวธิ กี าร
ผลติ (mode of production) ทีเ่ กิดจากความสัมพันธข์ องอำ� นาจของการผลติ (forces of production)
ซ่ึงได้แก่ การจัดการด้านแรงงาน ท่ีดิน ทุน และเทคโนโลยี กับความสัมพันธ์ทางสังคมของการผลิต
(social relation of production) ซ่ึงได้แก่ เจ้าของปจั จัยการผลติ และคนงานทที่ �ำหน้าที่ผลติ ดงั นี้
1) สังคมคอมมิวนิสต์ด้ังเดิม (Primitive communism) กรรมสทิ ธใ์ิ นปจั จยั การผลติ เปน็ ของเผา่
(tribal ownership) ตอ่ มาเผา่ ตา่ งๆ ไดร้ วมตวั กนั เปน็ เมอื งและรฐั ทำ� ใหก้ รรมสทิ ธใิ์ นปจั จยั การผลติ เปลย่ี น
ไปเป็นของรฐั แทน
2) สังคมโบราณ (Ancient communal) กรรมสิทธใิ์ นปจั จัยการผลิตเป็นของรัฐ (state owner-
ship) สมาชกิ ในสงั คมได้รับกรรมสทิ ธ์ิในทรพั ยส์ นิ สว่ นตวั ท่สี ามารถเคลอื่ นย้ายได้ ไดแ้ ก่ เคร่อื งใช้ส่วนตวั
และทาส ดงั นัน้ ทาสในสงั คมยคุ น้จี งึ เปน็ กำ� ลงั สำ� คัญในระบบการผลิตทง้ั หมด และต่อมาระบบการผลิตได้
เกิดความขัดแยง้ ระหวา่ งเจา้ ของทาสและทาส
3) สังคมศักดินา (Feudalism) กรรมสทิ ธ์ใิ นปัจจยั การผลติ เปน็ ของขนุ นาง คอื ทดี่ นิ โดยมีทาส
เป็นแรงงานในการผลิต
4) สังคมทุนนิยม (Capitalism) กรรมสิทธ์ิในปัจจัยการผลิตเป็นของนายทุน คือ ที่ดิน ทุน
แรงงาน และเคร่อื งจักร โดยมผี ใู้ ช้แรงงานเป็นผู้ผลติ
5) สังคมคอมมิวนิสต์ (Communism) กรรมสิทธ์ิในปัจจยั การผลิตเปน็ ของทกุ คน ทุกคนมสี ิทธ์ิ
เทา่ เทียมกนั ไม่มีใครเอาเปรยี บซ่ึงกันและกัน