Page 41 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 41
ความรู้ดา้ นสังคมวิทยาและมานษุ ยวทิ ยา 2-31
เร่ืองท่ี 2.2.4
แนวคิดทฤษฎีการแลกเปล่ียน
แนวคดิ ทฤษฎกี ารแลกเปลย่ี น หรอื บางตำ� ราเรยี กวา่ เปน็ ทฤษฎปี รวิ รรตนยิ ม (Exchange theory)
มีหลักการว่ามนุษย์แต่ละคนมีความต้องการและความจ�ำเป็นหลายอย่างในการด�ำรงชีวิตจึงต้องติดต่อ
สมั พนั ธก์ นั เพอื่ แลกเปลย่ี นสงิ่ ตา่ งๆ เพอ่ื สนองความตอ้ งการและความจำ� เปน็ ของตน โดยในการแลกเปลย่ี น
สิ่งของกันแต่ละคนก็ต้องการมูลค่าสูงสุดส�ำหรับสิ่งของของตนเอง และความสัมพันธ์แลกเปลี่ยนน้ีเองจะ
ดำ� รงอยไู่ ดต้ ราบเท่าทค่ี ่สู มั พันธค์ ิดวา่ ตนเองไดก้ �ำไร หรือคดิ วา่ การแลกเปล่ยี นนนั้ มีความยุตธิ รรม
ที่มาของทฤษฎีปริวรรตนิยม
แนวคดิ นม้ี ที มี่ าจากสามแหลง่ คอื การศกึ ษาดา้ นเศรษฐศาสตรเ์ ชงิ อรรถประโยชนน์ ยิ ม (Utilitarian
economics) การศึกษาด้านมานุษยวิทยาเชิงหน้าที่ (Functional anthropology) และการศึกษาด้าน
จิตวทิ ยาเชงิ พฤติกรรม (Behavioral psychology)
พน้ื ฐานความคดิ เรอ่ื งอรรถประโยชนน์ ยิ มมคี วามเชอ่ื วา่ มนษุ ยเ์ ปน็ สตั วเ์ ศรษฐกจิ และเปน็ ผมู้ เี หตผุ ล
จึงพยายามแสวงหาประโยชน์จากวัตถุให้ได้มากที่สุด ในตลาดเสรีมุนษย์จะพยายามหาข้อมูลข่าวสาร
ทง้ั หมดเพอ่ื นำ� มาพจิ ารณาอยา่ งมเี หตผุ ลในเรอื่ งคา่ ใชจ้ า่ ยและประโยชนท์ างวตั ถทุ พ่ี งึ ไดจ้ ากทางเลอื กตา่ งๆ
ท่ีมีโดยจะคัดเลือกทางเลือกท่ีให้ประโยชน์หรือให้ก�ำไรสูงสุด อย่างไรก็ตามแนวคิดน้ีก็ถูกแย้งโดย
นักสังคมวิทยายุคใหม่ว่ามนุษย์ไม่ได้เป็นผู้มีเหตุผลเสมอไป และไม่สามารถจะมีข้อมูลข่าวสารหรือรู้
เกยี่ วกบั ทางเลือกต่างๆ ทง้ั หมดทีม่ ีอยู่ รวมท้ังมนุษย์ก็ไมไ่ ดพ้ ยายามแสวงหาประโยชน์มากทสี่ ดุ เสมอไป
ในการเลอื กหรอื การแลกเปลย่ี นทกุ ครงั้ ทส่ี ำ� คญั คอื การแลกเปลยี่ นในทางสงั คมไมเ่ หมอื นกบั การแลกเปลยี่ น
ทางเศรษฐศาสตร์ท้ังหมดท่ีมีเป้าหมายส่วนใหญ่คือประโยชน์ทางวัตถุ แต่มนุษย์มีการแลกเปล่ียนในทาง
สังคมทีเ่ ป็นเร่ืองอืน่ ๆ ซ่งึ ไม่ใชว่ ัตถดุ ้วย เช่น เรื่องทางจติ ใจ
มีนักมานุษยวิทยาและสังคมวิทยาหลายคนที่ได้ศึกษาแนวคิดเรื่องการแลกเปล่ียนนี้ (สัญญา
สัญญาววิ ัฒน์, 2545) ได้แก่
เจมส์ เฟรเซอร์ (James Frazer) ศึกษาวิเคราะห์สถาบันทางสังคมโดยอาศัยแนวคิดเร่ืองการ
แลกเปลยี่ นโดยเขาสนใจเรอื่ งระบบเครอื ญาตแิ ละการแตง่ งานในสงั คมดง้ั เดมิ ตา่ งๆ และพบวา่ การแตง่ งาน
มักเกิดข้ึนกับญาติห่างๆ มากกว่าญาติสายตรง โดยมีเหตุผลจูงใจทางเศรษฐกิจ ท้ังนี้ระบบแลกเปล่ียน
ท�ำให้ผู้ท่ีเป็นเจ้าของสิ่งมีมากทางเศรษฐกิจมากสามารถเอาเปรียบ ผู้เป็นเจ้าของสิ่งท่ีมีค่าน้อยได้ ดังน้ัน
เขาจงึ มอี ภิสิทธิ์หรืออ�ำนาจมากกวา่ ผมู้ สี ่งิ เหล่าน้ันน้อย
มาลิเนาสกี (Malinowski) ได้ศึกษาวิเคราะห์การแลกเปล่ียนระหว่างบุคคลในชุมชนของเกาะ
แหง่ หนึง่ ของทะเลใต้เขตแปซิฟกิ พบวา่ การแลกเปลีย่ นบางคร้ังอาจไม่มีรปู เป็นวัตถไุ ด้ และเมือ่ เริม่ มกี าร
แลกเปลีย่ นแลว้ กจ็ ะหยุดแคน่ ั้นไม่ได้ตอ้ งกระท�ำไปเรื่อยๆ และก่อให้เกดิ สายสมั พนั ธท์ างสังคมขนึ้ ดังนัน้