Page 40 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 40
2-30 ความรทู้ างสังคมศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีส�ำ หรับนักนิเทศศาสตร์
2. ขนั้ การเลน่ เกม (game stage) เดก็ ตอ้ งเรยี นรคู้ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตนเองกบั ผอู้ นื่ ผา่ นกตกิ า
ของเกมท่ีเล่น เขาต้องวางตัวเองไว้ในต�ำแหน่งใดต�ำแหน่งหนึ่งในเกม เพื่อจะเล่นกับผู้อ่ืนให้ได้ การรับรู้
ตนเองและผอู้ น่ื เปน็ สง่ิ สำ� คญั ของความเปน็ มนษุ ย์ เปน็ พน้ื ฐานของความคดิ การกระทำ� และการสรา้ งสงั คม
ผู้ท่ีไม่รู้จัก “ตนเอง” จะไม่สามารถตอบสนองและปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ถ้าปราศจากการส่ือสารด้วย
สญั ลกั ษณท์ ม่ี กี ารตคี วามหมายรว่ มกนั กระบวนการทางสงั คมจะไมเ่ กดิ ขนึ้ ดงั นน้ั มนษุ ยจ์ งึ อยใู่ นโลกแหง่
สญั ลกั ษณท์ มี่ คี วามหมายและมคี วามส�ำคญั ต่อชวี ิตและพื้นฐานหลกั ของการมปี ฏิสัมพนั ธ์ของมนุษย์
สญั ญา สญั ญาววิ ฒั น์ (2550) กลา่ ววา่ สญั ลกั ษณจ์ ะมคี วามหมายไดห้ ลายอยา่ งขนึ้ อยกู่ บั ชว่ งเวลา
และสถานการณ์โดยการจะสามารถเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์ได้จึงจ�ำเป็นต้องตีความตามบริบท
สถานการณ์ ตามบคุ ลกิ ภาพของผใู้ ชร้ วมทงั้ ประสบการณค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคคู่ วามสมั พนั ธ์ ดงั นน้ั ตาม
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์การท่ีเราจะรู้ความหมายจึงไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ต้องพิจารณาจากจากองค์
ประกอบหลายอย่างดังท่ีได้กล่าวมา ซ่ึงในทางปฏิบัติหรือในชีวิตประจ�ำวันก็ไม่ใช่เรื่องยากที่จะสามารถ
เขา้ ใจและเรียนรคู้ วามหมายของสญั ลกั ษณท์ ี่ใชใ้ นขณะนัน้ ได้
กิจกรรม 2.2.3
แนวคดิ ทฤษฎปี ฏสิ ัมพันธเ์ ชิงสญั ลกั ษณม์ ปี ระเดน็ หลกั วา่ อยา่ งไร
แนวตอบกิจกรรม 2.2.3
มนุษย์สร้างความสัมพันธ์ผ่านระบบสัญลักษณ์ (symbols) คือ ภาษา สัญลักษณ์ จึงเป็นส่ิงท่ี
มนุษยใ์ ช้ปฏิสัมพนั ธ์อยา่ งมคี วามหมายกบั ธรรมชาติ ผคู้ น และบรบิ ททางสงั คม ถ้าไมม่ สี ญั ลกั ษณ์ มนษุ ย์
จะมีปฏิสัมพันธ์กันไม่ได้และจะไม่มี “สังคม” เกิดข้ึน สัญลักษณ์จะมีความหมายได้หลายอย่างข้ึนอยู่กับ
ช่วงเวลาและสถานการณ์โดยการจะสามารถเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์ได้จึงจ�ำเป็นต้องตีความตาม
บรบิ ท สถานการณ์ ตามบคุ ลกิ ภาพของผู้ใช้รวมท้งั ประสบการณค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคู่ความสัมพันธ์