Page 43 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 43

ความรูด้ ้านสงั คมวิทยาและมานุษยวิทยา 2-33
ไดร้ บั ผลตอบแทนจากพฤตกิ รรมแลกเปลยี่ นเดมิ ๆ ซำ้� ๆ มากขนึ้ เทา่ ใด มนษุ ยก์ ม็ แี นวโนม้ จะไปมพี ฤตกิ รรม
แลกเปลย่ี นแบบอีกเพื่อหารางวัลหรือผลตอบแทนอย่างอืน่ ต่อไป

       อนง่ึ สง่ิ แลกเปลยี่ นอาจะเปน็ วตั ถสุ ง่ิ ของหรอื ไมใ่ ชว่ ตั ถสุ งิ่ ของกไ็ ด้ เชน่ ความรกั ความเหน็ ใจ การ
ปลอบประโลม ชือ่ เสียงเกยี รตยิ ศ อำ� นาจ เป็นต้น

       2.	 การแลกเปลี่ยนรวมหมู่ (collective exchange) เกดิ จากคำ� ถามทว่ี า่ องคก์ ารทางสงั คมเกดิ ขน้ึ
ดำ� รงอยไู่ ด้ และเปลยี่ นแปลงไปอย่างไรด้วยเหตุอะไร หลักการเบอ้ื งต้นประกอบด้วย

            2.1	 ย่ิงบุคคลคาดหวังว่าจะได้กําไรจากการกระทํากิจกรรมเฉพาะใด เขาก็ย่ิงมีแนวโน้มจะ
กระทาํ กจิ กรรมนนั้ มากขน้ึ ทาํ ใหบ้ คุ คลเลอื กทาํ กจิ กรรมทเ่ี ขาคาดวา่ จะไดร้ บั รางวลั จากกจิ กรรมนน้ั ยงิ่ หวงั
วา่ จะไดม้ ากเท่าไร ก็ย่ิงทํากจิ กรรมนั้นเทา่ น้ัน (ก�ำไรอาจไม่ไดค้ ดิ เปน็ ตวั เงนิ แต่อาจหมายถงึ ความพอใจ
ถูกใจ ตรงกับจุดประสงค์ที่ต้องการ ฯลฯ) เช่น ผู้ใต้บังคับบัญชาพยายามเอาใจผู้บังคับบัญชาหลายทาง
เพ่ือใหไ้ ด้ “กำ� ไร” (หมายถงึ ชน่ื ชอบ ชืน่ ชม น�ำไปส่คู วามกา้ วหน้าในตำ� แหนง่ หน้าที่) เปน็ ตน้

            2.2	ยง่ิ บคุ คลไดแ้ ลกเปลย่ี นรางวลั กบั บคุ คลอน่ื บอ่ ยครง้ั มากขน้ึ เพยี งใด โอกาสทค่ี วามผกู พนั
ระหวา่ งกนั จะเกดิ มากยงิ่ ขนึ้ และความผกู พนั นจี้ ะกาํ หนดกจิ กรรมแลกเปลยี่ นของเขาทง้ั สองทจี่ ะตดิ ตามมา
รางวลั ตา่ งตอบแทนกนั นไ้ี มจ่ าํ เปน็ ตอ้ งเปน็ สงิ่ เดยี วกนั อาจจะแตกตา่ งกนั ได้ แตท่ งั้ สองฝา่ ยตอ้ งเหน็ วา่ เปน็
ส่ิงคคู่ วรกัน เมื่อแลกเปลยี่ นรางวัลกนั นาน และบ่อยครั้งกจ็ ะสรา้ งความผกู พันระหวา่ งกันหรอื ความผกู พัน
ตา่ งตอบแทนขนึ้ ซ่ึงโดยทั่วไปในสงั คมจะมบี รรทัดฐานแห่งการตอบแทนกนั (norm of reciprocity) ที่
บงั คับให้บุคคลตอบแทนสงิ่ ทผ่ี ูอ้ ่นื ใหอ้ ยู่แลว้ ทําให้ความสัมพนั ธน์ ย้ี ืนยาวยิ่งขนึ้ ซ่งึ เราจะเหน็ หลกั การนใี้ น
ลักษณะรวมหมู่ เช่น บรรทดั ฐานของการปฏิบัติระหว่างกันของกลมุ่ คนและสงั คม เกดิ จากการแลกเปลยี่ น
ทบี่ อ่ ยครัง้ จนกลายเป็นแนวทางกำ� กับหรอื บรรทดั ฐานของหน่วยตา่ งๆ ในสังคมนนั่ เอง

            2.3	ยิ่งความผูกพันต่างตอบแทนมีการฝ่าฝืนมากย่ิงข้ึนเพียงใด คู่สัมพันธ์ผู้เสียประโยชน์
ก็จะยงิ่ แสดงปฏิกิริยาทางลบมากยงิ่ ขน้ึ เพยี งนั้น กล่าวคอื ในความผกู พนั ตา่ งตอบแทนน้ี ถ้าหากค่สู มั พนั ธ์
ฝ่ายหน่ึงไม่ได้ตอบแทนให้แก่อีกฝ่ายหนึ่ง ฝ่ายที่ไม่ได้รับตอบแทนก็จะแสดงออกในทางลบ (negative
sanction) มากย่ิงขึ้นเพียงนั้น เช่น แสดงความไม่เป็นมิตร แสดงความไม่พึงพอใจ ลดผลประโยชน์
ตอบแทนลง เลิกความสัมพนั ธ์แลกเปล่ียนหรอื อาจกลายเปน็ ศตั รคู ูแ่ ขง่ กนั ก็ได้

            2.4	บคุ คลยง่ิ ไดร้ บั รางวลั ทคี่ าดหวงั ไวจ้ ากการกระทาํ เฉพาะใดๆ บอ่ ยมากขนึ้ เพยี งใด บคุ คล
กย็ งิ่ ลดคณุ คา่ และลดการกระทาํ กจิ กรรมเฉพาะนน้ั ลงดว้ ย เปน็ ความสมั พนั ธท์ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั คณุ คา่ หรอื ราคา
ของกิจกรรมที่ข้ึนลงตามความถ่ีของการได้รับรางวัล อันเน่ืองมาจากกิจกรรมเฉพาะน้ันๆ ซ่ึงเป็นไปตาม
หลักเศรษฐศาสตร์ เร่ืองกฎอรรถประโยชนห์ นว่ ยสดุ ท้าย (Law of Marginal Utility) ท่วี ่าย่ิงบคุ คลได้
รับรางวัลใดมากขน้ึ บคุ คลกจ็ ะย่งิ รสู้ กึ อ่มิ กบั รางวัลนนั้ คุณคา่ ของรางวลั นั้นก็จะค่อยๆ ลดลง แตจ่ ะเร่ิมหา
รางวัลอน่ื มาทดแทน ในขณะเดยี วกนั ถ้าหากว่าเขาได้รบั รางวลั น้อยก็จะถงึ จุดอิ่มตวั อกี เชน่ เดยี วกนั

            2.5	ยง่ิ ความสมั พนั ธแ์ ลกเปลย่ี นมคี วามมนั่ คงมากขน้ึ เพยี งใด ความเปน็ ไปไดท้ จ่ี ะใชบ้ รรทดั -
ฐานแห่งการแลกเปล่ยี นอยา่ งยุตธิ รรมก็จะยงิ่ มากขึ้นเพยี งนน้ั ความสัมพนั ธ์แลกเปล่ยี นที่มนั่ คง หมายถงึ
ความสัมพันธ์แลกเปล่ียนที่คู่สัมพันธ์ไม่ว่าจะเป็นเพียงสองคน หรือมากกว่ายอมรับว่ามีอยู่ต่างได้ทดแทน
แลกเปลยี่ นรางวลั ตอ่ กนั เปน็ เวลานาน จนกลายเปน็ เรอื่ งปกติ ความสมั พนั ธแ์ บบนจ้ี ะทาํ ใหเ้ กดิ บรรทดั ฐาน
หรอื มาตรฐานสงั คมในการแลกเปล่ยี นอย่างยุตธิ รรมมากข้ึน
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48