Page 48 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 48
2-38 ความรทู้ างสังคมศาสตร์และเทคโนโลยสี �ำ หรับนักนิเทศศาสตร์
3) ปัจจัยทางสังคม ไดแ้ ก่ การจงใจไปแลกเปลย่ี นวธิ กี ารพฤตกิ รรมใหมแ่ ละความรู้ การไปศกึ ษา
ยงั ถนิ่ อน่ื จงึ เปน็ การไปแพรก่ ระจายวฒั นธรรมโดยตรง การรจู้ กั รกั ใคร่ และการแตง่ งานกบั คนตา่ งวฒั นธรรม
การไปร่วมปฏิบัติตามพิธีกรรมทางศาสนา และการอพยพโยกย้ายถิ่นเพราะเกิดภัยทางสังคม เช่น เกิด
สงคราม และความขดั แยง้ การประสบภยั ธรรมชาติ เช่น ข้าวยากหมากแพง แหง้ แล้ง และการยดึ ครอง
โดยผู้รุกราน เหล่านีล้ ว้ นเป็นปัจจัยให้เกดิ การแพร่กระจายทางวฒั นธรรมท้งั สิ้น
อยา่ งไรกต็ ามทฤษฎนี ใี้ นสมยั ตอ่ ๆ มาไมค่ อ่ ยไดร้ บั ความนยิ มมากนกั เพราะมจี ดุ ออ่ นหลายประการ
เช่น ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าวัฒนธรรมจากสังคมหน่ึงกระจายไปยังอีกสังคมหนึ่งได้อย่างไร สังคมใหม่
ยอมรับหรือ ปฏิเสธ หรือผสมผสานวัฒนธรรมที่แพร่กระจายเข้ามาใหม่กับวัฒนธรรมเก่าได้อย่างไร
ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าวัฒนธรรมใดแพร่กระจายไปสู่วัฒนธรรมใด วัฒนธรรมใดเป็นวัฒนธรรมต้นก�ำเนิด
และไมใ่ ชท่ กุ กรณที สี่ งั คมหนง่ึ จะหยบิ ยมื วฒั นธรรมของเพอ่ื นบา้ นเสมอ ตวั อยา่ งเชน่ ไทยไมไ่ ดร้ บั วฒั นธรรม
จากเวยี ดนามแต่กลับไปมรี ปู แบบวฒั นธรรมคลา้ ยของอนิ เดีย ท้งั ๆ ที่ ประเทศไทยอยูใ่ กลช้ ดิ กบั ประเทศ
เวียดนามมากว่าเปน็ ต้น
กล่าวโดยสรปุ ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวฒั นธรรมนีจ้ ะช่วยอธิบายวธิ กี ารและ/หรอื ขัน้ ตอนของ
การเผยแพร่วัฒนธรรมหน่ึงไปสู่อีกวัฒนธรรมหน่ึงในแนวทางที่หลากหลายแต่ก็จะต้องค�ำนึงถึงข้อเหมือน
และขอ้ ตา่ งของวฒั นธรรมทงั้ สองเป็นสำ� คัญ
นอกจากทฤษฎหี ลกั ๆ ดังท่ีไดก้ ล่าวมาข้างตน้ แล้ว ยังมีแนวคดิ ทางมานษุ ยวทิ ยาอื่นๆ อีก เช่น
- ทฤษฎคี วามก้าวหน้าทางวัฒนธรรม (Cultural progress) โดย เลสลี่ เอ. ไวท์ (Leslie A.
White) ชาวอเมรกิ นั เสนอแนวคิดเร่ืองวิวฒั นาการทางวฒั นธรรมวา่ ปรมิ าณพลงั งานทแี่ ตล่ ะคนสามารถ
น�ำมาใชป้ ระโยชนใ์ นแต่ละปีเมื่อคูณกับ ประสทิ ธิภาพของเคร่ืองมอื ทางเทคนคิ วทิ ยาในการนำ� พลังงานมา
ใช้ (technology or efficiency of tools) จะไดผ้ ลลัพธ์คอื ระดับพัฒนาการทางวัฒนธรรม (degree of
cultural development)
- แนวคดิ ความลา้ หลงั ทางวฒั นธรรม (Cultural lag) วลิ เลยี ม ออ็ กเบอรน์ (William Ogburn)
นกั สงั คมวทิ ยาชาวอเมรกิ นั มองวา่ การเปลย่ี นแปลงทางวฒั นธรรมจะกอ่ ใหเ้ กดิ ภาวะการปรบั ตวั ไมท่ นั ของ
คนในสังคมขึ้นเสมอ ท�ำให้สังคมเกิดความเฉื่อยหรือความล้าหลังทางวัฒนธรรมขึ้น เช่น วัฒนธรรมทาง
วตั ถุท�ำใหส้ ังคมเจรญิ แล้ว เชน่ การมีรถยนตข์ ับ แต่วฒั นธรรมทีไ่ มใ่ ชว่ ัตถุ อันได้แก่ ค่านิยม ประเพณียัง
ไมป่ รบั ตัวกลมกลืนกบั วัฒนธรรมทางวัตถุ เพราะกลวั การเปลย่ี นแปลง ไม่กล้าเปล่ยี นนิสัยหรือพฤติกรรม
ขาดการศึกษา ดังน้ันแม้จะมีรถยนต์ขับแต่การปฏิบัติตามกฎจราจรยังปรับตัวไม่เท่าทันกับปริมาณรถที่
เพ่ิมขึ้น
- แนวคิดมานุษยวิทยาเศรษฐกิจ (Economic anthropology) เป็นแนวคิดที่น�ำความรู้ด้าน
เศรษฐกจิ มาผสมผสานกบั วธิ กี ารทางมานษุ ยวทิ ยา เพอื่ ใชศ้ กึ ษาลกั ษณะเศรษฐกจิ ของสงั คม ซงึ่ ชว่ ยกอ่ ให้
เกดิ ความเขา้ ใจพฤตกิ รรมของมนษุ ยใ์ นดา้ นความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ ไดด้ ยี ง่ิ ขน้ึ แนวคดิ นจี้ งึ สนใจในการ
ใชแ้ บบแผนทางวฒั นธรรมเรอ่ื งกรรมสทิ ธขิ์ องปจั จยั การผลติ วธิ กี ารผลติ (เทคโนโลยที ใ่ี ช)้ และการกระจาย
ผลผลติ ทไ่ี ด้จากผลิต (ระบบตลาด) มาเป็นกรอบในการพจิ ารณา