Page 46 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 46

2-36 ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยสี �ำ หรับนักนิเทศศาสตร์

2.	 ทฤษฎีนิเวศวิทยาวัฒนธรรม (Cultural ecology theory)

       แนวคิดนเิ วศวทิ ยาวฒั นธรรม (Cultural ecology theory) เน้นศึกษาปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์กับ
สภาพแวดล้อม ทฤษฎนี เิ วศวทิ ยาวัฒนธรรมเร่ิมตน้ มาจากแนวคิดเร่อื ว “ระบบนเิ วศ” ซงึ่ เป็นทแี่ พรห่ ลาย
ในช่วงทศวรรษที่ 1870 โดย อเี อช เฮกเกล (EH Haeckel) นักชวี วทิ ยาเยอรมัน ไดน้ ำ� เสนอเพ่ือศกึ ษา
วฒั นธรรมและความสัมพนั ธร์ ะหว่างทงั้ ชดุ ของเทคโนโลยชี วี ภาพและส่ิงแวดลอ้ ม

       จูเลียน เอช. สจว็ ต (Julian H. Steward) อธิบายว่านิเวศวทิ ยาคือการปรับตวั ให้เขา้ กับสภาวะ
แวดล้อม และเมื่อรวมกับค�ำว่า วัฒนธรรม เป็น นิเวศวิทยาทางวัฒนธรรม จึงหมายถึงวิธีการศึกษาหา
ข้อก�ำหนดหรือหลักเกณฑ์ทางวัฒนธรรม ซ่ึงเป็นผลกระทบจากการปรับตัวให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมของ
มนุษย์แต่ละสังคม นิเวศวิทยาวัฒนธรรมจะแตกต่างจากนิเวศวิทยาสังคม (Social ecology) เพราะ
นเิ วศวทิ ยาวฒั นธรรมมงุ่ แสวงหากฎเกณฑเ์ พอื่ อธบิ ายทมี่ าของลกั ษณะและแบบแผนวฒั นธรรมบางประการ
ที่มีอยู่ในแต่ละสภาวะแวดล้อม มากกว่ามุ่งแสวงหาหลักการทั่วไปที่ใช้ได้กับทุกวัฒนธรรมและสภาพ
แวดลอ้ ม

       สิง่ ทส่ี �ำคัญทส่ี ดุ ในแนวคิดน้ีคือ “แกน่ วัฒนธรรม” (cultural core) ซ่งึ หมายถงึ กลมุ่ ของลกั ษณะ
หรอื แบบแผนวฒั นธรรมทีม่ ีความสมั พันธ์ใกลช้ ดิ มากท่สี ดุ กับกิจกรรมเพ่ือการด�ำรงชพี และการจัดการทาง
เศรษฐกจิ ทง้ั นจ้ี ะมงุ่ สนใจการนำ� วฒั นธรรมทางวตั ถุ เชน่ ระบบ เทคนคิ เครอ่ื งมอื เทคโนโลยี เปน็ ตน้ มา
ใชแ้ ตกต่างกนั อย่างไร และวฒั นธรรมเหลา่ นน้ั กอ่ ใหเ้ กดิ การจดั การทางดา้ นสังคมทแ่ี ตกตา่ งกนั อยา่ งไรใน
สภาวะแวดล้อมที่แตกต่างกัน เพราะสภาวะแวดล้อมแต่ละแห่งอาจเป็นตัวช่วยหรือข้อจ�ำกัดในการใช้
วัฒนธรรมทางวตั ถุ หรอื เทคนิควิทยาเหลา่ นี้ก็ได้

       ทฤษฎนี เิ วศวทิ ยาวฒั นธรรมสว่ นใหญจ่ ะใชใ้ นการอธบิ ายกระบวนการปรบั ตวั ทางวฒั นธรรมทม่ี ตี อ่
สงิ่ แวดลอ้ ม โดยเนน้ วา่ ความเชอื่ และการปฏบิ ตั ติ า่ งๆ ตามระบบวฒั นธรรมทด่ี เู หมอื นไรส้ าระ ไมม่ เี หตผุ ล
แต่อาจมีผลในด้านการใช้ทรัพยากรของสังคมอย่างมีเหตุมีผลก็ได้ โดยค�ำนึงถึงระดับของเทคโนโลยีท่ีใช้
เฉพาะสถานทแ่ี ละสภาพแวดลอ้ มดว้ ย เชน่ การกนิ เนอ้ื ววั เปน็ ของตอ้ งหา้ มของชาวฮนิ ดทู ง้ั ทค่ี วามอดอยาก
ยากจนมไี ปท่วั อินเดยี น้นั นกั มานษุ ยวทิ ยาได้อธิบายสิ่งเหล่านวี้ า่ การหา้ มกินเน้อื วัวมคี วามหมายว่าววั มี
ไว้ใช้ลากคันไถ หากไม่มีวัวก็จะไม่อาจท�ำการเกษตรได้ ดังน้ันข้อห้ามทางศาสนาจึงเป็นการเพ่ิมความ
สามารถของสังคมเกษตรกรรมในระยะยาว เปน็ ต้น

       โดยสรปุ แลว้ ทฤษฎนี เิ วศวทิ ยาวฒั นธรรมนจี้ ะชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยใ์ นสงั คม
สง่ิ แวดล้อมทางสังคม และลักษณะทางกายภาพในสงั คมได้อยา่ งชัดเจนยง่ิ ขึ้น

3.	 ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม

       กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสงั คมประกอบดว้ ย การค้นพบ การประดษิ ฐ์ และการแพร่กระจาย
ซ่ึงเป็นกระบวนการสุดท้ายของการเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม แนวคิดเร่ืองการแพร่กระจาย
วฒั นธรรม (Cultural diffusion theory) หมายถงึ การกระจายสงิ่ ทคี่ น้ พบและ/หรอื สง่ิ ประดษิ ฐ์ (วฒั นธรรม)
จากคนกลมุ่ หนง่ึ ไปสคู่ นอกี กลมุ่ หนง่ึ หรอื จากสงั คมหนง่ึ ไปสอู่ กี สงั คมหนง่ึ เชน่ การแพรก่ ระจายสง่ิ อ�ำนวย
ความสะดวกจากสงั คมเมืองไปสู่สงั คมชนบท การแพรก่ ระจายแนวคดิ แบบประชาธิปไตยจากประเทศทาง
ตะวันตกไปส่ปู ระเทศอน่ื ทัว่ โลก เปน็ ตน้
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51