Page 50 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 50

2-40 ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยสี �ำ หรบั นักนเิ ทศศาสตร์

2.	 ท้องถิ่นกับโลก

       ท้ังสองแนวคิดในเร่ืองท้องถ่ินกับโลกมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันมากกว่าแบ่งแยกจากกัน โดย
ทั้งสองเช่ือมโยงและสัมพันธ์กันเน่ืองด้วยกระบวนการโลกาภิวัตน์ (globalization) ซึ่งเกิดเนื่องมาจาก
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทำ� ใหเ้ กิดการเช่อื มต่อระหว่างผคู้ นในสงั คมระดบั
ท้องถิ่นกับสังคมโลก ดังที่มาร์แชล แม็คลูฮัน (Marshal McLuhan) เรียกว่า โลกท้ังโลกได้กลายเป็น
หม่บู า้ นเดยี วกนั (one village or global village)

       ความสมั พนั ธข์ องทอ้ งถน่ิ กบั โลกมมี านานแลว้ นบั ตง้ั แตก่ ารเกดิ ขน้ึ ของลทั ธลิ า่ อาณานคิ ม ซงึ่ ไมใ่ ช่
เป็นเพียงการพยายามจะขยายอ�ำนาจทางการเมืองและเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ยังเป็นการแลกเปลี่ยนและ
เชอ่ื มโยงถา่ ยทอดวฒั นธรรม ประดษิ ฐกรรมและอนื่ ๆ ผา่ นศลิ ปะ ความคดิ ความรู้ วทิ ยาศาสตร์ สถาปตั ย-
กรรมซึ่งสะท้อนความหลากหลายทางวัฒนธรรมท่ที ้องถน่ิ ได้แสดงตัวตนผ่านความสัมพนั ธ์ระดับโลก

       การเดินทางล่องเรือจากทวีปหนึ่งไปสู่อีกทวีปหน่ึงได้เปลี่ยนไปเป็นการท่องโลกจากทวีปหน่ึงไป
ยังอีกทวีปหน่ึงผ่านโลกแห่งเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารท�ำให้เกิดความสัมพันธ์เช่ือมโยงระหว่าง
ท้องถิ่นกับโลกอย่างใกล้ชิด รวดเร็วและฉับไวมากข้ึน สินค้าและบริการของท้องถ่ินสามารถจ�ำหน่ายและ
ให้บรกิ ารกับคนทวั่ โลกไดใ้ นพรบิ ตา ดงั ที่ เดวดิ ฮารว์ ี (David Harvey, 1989) กลา่ ววา่ ภายใตค้ วาม
กดดนั ทางเศรษฐกจิ และการลดชอ่ งวา่ งระหวา่ งพน้ื ทแ่ี ละเวลาทำ� ใหผ้ คู้ นทอ่ี ยใู่ นทอ้ งถน่ิ หา่ งไกลกนั สามารถ
อยใู่ กลก้ นั ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งโยกยา้ ยหรอื เดนิ ทางไปถงึ กนั แตอ่ ยา่ งใด เหน็ ไดช้ ดั ในบรบิ ทดา้ นตลาดการคา้ และ
ธุรกจิ เช่น ตลาดการคา้ ห้นุ และการลงทุนซง่ึ สามารถด�ำเนินได้ตลอดเวลาทวั่ โลก ณ เวลาหนง่ึ ตลาดหุ้นใน
ยุโรปก�ำลังเปิดท�ำการค้า ในเวลาเดียวกันตลาดหุ้นในเอเชียอาจจะก�ำลังจะปิดท�ำการ และเมื่อถึงเวลาที่
ตลาดหนุ้ ในเอเชยี ปดิ ทำ� การลง การคา้ หนุ้ ในยโุ รปกำ� ลงั ใกลจ้ ะปดิ ทำ� การ ตลาดหนุ้ ในอเมรกิ ากก็ ำ� ลงั จะเปดิ
ทำ� การคา้ ดงั นน้ั ดว้ ยความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยกี ารสอื่ สารทำ� ใหก้ ารคา้ การลงทนุ ทวั่ โลกสามารถดำ� เนนิ
การได้ตลอดยีส่ ิบสช่ี ัว่ โมง เป็นตน้

       อนั ทจี่ ริงกระบวนการโลกาภิวัตน์ไมไ่ ดม้ ีความราบเรยี บโดยเฉพาะเมื่อ เวลาและพน้ื ท่ไี ดห้ ดสัน้ ลง
ท้องถ่ินและโลกสามารถเชื่อมโยงกันได้แบบสัมพันธ์กันมากกว่าแบ่งแยกจากกัน ผลกระทบเชิงบวกส่วน
หนึ่งท�ำให้เราสามารถได้รับข่าวสารจากท่ัวโลกและกระจายข่าวสารของท้องถิ่นไปยังคนทั่วโลกได้อย่าง
รวดเร็ว เช่น สินค้าและบริการท้องถ่ินสามารถขายให้กับคนท่ัวโลกได้ เป็นต้น แต่ผลกระทบเชิงลบส่วน
หนงึ่ กเ็ กดิ ขน้ึ ไดเ้ ชน่ กนั ดงั กรณที เ่ี กดิ วกิ ฤตเศรษฐกจิ ในซกี โลกหนงึ่ กส็ ง่ ผลกระทบกบั เศรษฐกจิ ของประเทศ
อ่ืน อาทิ วิกฤตเศรษฐกิจในไทยท่ีเรียกกันว่า วิกฤตการณ์ต้มย�ำกุ้ง (Tom-Yam-Kung Crisis) ในปี
พ.ศ. 2540 หรือ วกิ ฤตเศรษฐกิจในสหรฐั อเมรกิ าที่เรยี กกันวา่ วิกฤตการณ์แฮมเบอรเ์ กอร์ (Hamburger
Crisis) ในปี พ.ศ. 2550 ซ่งึ ท้งั สองคร้งั ไดส้ ง่ ผลกระทบกับเศรษฐกจิ โลก

3.	 ภาครัฐ ตลาดและภาคประชาชน

       ภาครฐั (state) คอื สถาบนั ทางสงั คมทม่ี สี ทิ ธแิ ละอำ� นาจในการใชก้ ำ� ลงั ควบคมุ และสงั่ การใหส้ ถาบนั
ทางสงั คมอน่ื ๆ ดำ� เนนิ ไปอยา่ งเปน็ ระบบ เพราะภาครฐั เปน็ สถาบนั เดยี วทเ่ี ปน็ ผบู้ ญั ญตั กิ ฎหมาย ระเบยี บ
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54