Page 47 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 47
ความรดู้ า้ นสังคมวทิ ยาและมานุษยวิทยา 2-37
แนวคดิ นมี้ ีมมุ มองท่หี ลากหลายจากนกั มานษุ ยวทิ ยาหลากหลายส�ำนกั อาทิ
กล่มุ นกั มานษุ ยวิทยาชาวอังกฤษ เชน่ สมิท (G. Elliot Smith) เพอรร์ ี (William Perry) และ
ริเวอรส์ (W.H.R. Rivers) พวกเขาเหล่าน้ีไม่เช่ือว่าวัฒนธรรมต่างเกิดข้ึนได้ด้วยตัวเองโดยไม่เก่ียวกับ
สงิ่ แวดลอ้ ม แตเ่ หน็ วา่ คนมลี กั ษณะทางชวี ภาพพนื้ ฐานเหมอื นกนั ถา้ คนจะสรา้ งวฒั นธรรมในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ
ท่ีต่างกัน วัฒนธรรมในส่วนพ้ืนฐานก็จะต้องเหมือนๆ กัน ส่วนความแตกต่างหลากหลายของวัฒนธรรม
ที่อาจเกิดขน้ึ น้นั ขึ้นอยกู่ ับสิง่ แวดลอ้ มท่ตี ่างกนั นกั มานุษยวทิ ยากลุ่มน้ไี ดย้ กตัวอยา่ งว่า อารยธรรมชั้นสงู
มจี ดุ กำ� เนดิ ในประเทศอยี ปิ ต์ แลว้ จงึ แพรก่ ระจายไปยงั สว่ นตา่ งๆ ของโลก กลมุ่ และชนชาตติ า่ งๆ ซงึ่ มกี าร
ตดิ ตอ่ หรอื คา้ ขายกบั ชาวอยี ปิ ต์ ไดน้ ำ� เอาความรดู้ า้ นเกษตรกรรม การทำ� ภาชนะ การหลอมเหลก็ การทอผา้
และการกอ่ สรา้ งไปใชท้ ำ� ให้ศิลปวทิ ยาแขนงต่างๆ แพร่กระจายไปยงั ส่วนตา่ งๆ ของโลก
ส่วนกลุ่มนักมานุษยวิทยาชาวเยอรมัน และออสเตรีย เช่น ฟริตซ์ เกร็บ (Fritz Graeb) และ
วลิ เฮล์ม ชมดิ ท์ (Wilhelm Schmidt) มแี นวคิดว่า มนุษย์ไม่ชอบสร้างวัฒนธรรมข้นึ มาเอง แต่ชอบยืม
วัฒนธรรมจากเพื่อนบ้าน วัฒนธรรมนั้นเมื่อแพร่กระจายไป วัฒนธรรมที่ปลายทางจะต้องเหมือนกับ
วฒั นธรรมต้นก�ำเนดิ ไม่มากกน็ อ้ ย อาจเหมือนในเชิงปริมาณหรอื รปู ลกั ษณ์ ซง่ึ อาจเกดิ จากการอพยพยา้ ย
ถิน่ ของผ้คู น และเปน็ แนวคิดทเ่ี น้นการหยบิ ยืม (borrowing) ทางวฒั นธรรมมากกว่าการสรา้ งวฒั นธรรม
ใหม่ (invention) นกั มานษุ ยวทิ ยากลมุ่ นเ้ี สนอวา่ จดุ ศนู ยก์ ลางของวฒั นธรรมไมไ่ ดม้ เี พยี งแหง่ เดยี ว หาก
มีหลายแหง่ แต่ละแห่งก็แพรก่ ระจายวัฒนธรรมของตนออกไปรอบๆ เปน็ วงกลม เรียกว่า culture circle
หรือ ภาษาเยอรมนั เรยี กวา่ Kulturkreis
สว่ นกลมุ่ นักมานุษยวิทยาชาวอเมริกนั เชน่ คลาร์ก ไวสสเ์ ลอร์ (Clark Wissler) และ อลั เฟรด
โครเบอร์ (Alfred Kroeber) เชอ่ื วา่ วฒั นธรรมจะแพรก่ ระจายจากจดุ ศนู ยก์ ลาง (จดุ กำ� เนดิ ) ไปตามพน้ื ที่
เท่าที่มันจะไปได้ในเขตภูมิศาสตร์เดียวกันและในยุคสมัยท่ีใกล้เคียงกัน ท�ำให้เราเห็นภาพวัฒนธรรมเป็น
กลุ่มๆ และแพร่กระจายไปทกุ ๆ ท่ีทไ่ี มม่ ีอปุ สรรคทางภูมิศาสตร์ขวางกนั้ ตราบใดท่มี นษุ ยส์ ามารถเดินทาง
ไปถึงได้ ดังนั้นรูปแบบของการแพร่กระจายวัฒนธรรมจึงไม่ใช่วงกลม และในการแพร่กระจายวัฒนธรรม
หนง่ึ ๆ ไปยงั แหล่งอ่ืนๆ ได้ตอ้ งยึดหลักว่า วฒั นธรรม คือ ความคดิ และพฤตกิ รรม (ผลของความคิด) ท่ี
ตดิ ตัวบุคคล บคุ คลเดินทางไปถงึ ทใี่ ดวัฒนธรรมก็จะไปถึงที่นน่ั ดงั นนั้ การแพร่กระจายของวฒั นธรรมจะ
ขนึ้ อยู่กบั ปจั จยั ต่อไปน้ี
1) ภูมิศาสตร์ ต้องไม่มอี ุปสรรคทางภมู ิศาสตรข์ วางก้นั เชน่ ไมม่ ีภเู ขาสงู ทะเลกว้าง ทะเลทราย
หมิ ะ ปา่ ทบึ เปน็ ตน้ เพราะสง่ิ เหลา่ นเ้ี ปน็ อปุ สรรคตอ่ การเดนิ ทางของคนทมี่ วี ฒั นธรรมตดิ ตวั หากมอี ปุ สรรค
ขวางกั้นแต่มีปัจจัยการคมนาคมท่ีดีก็เอ้ือต่อการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม เช่น ถนนดี พาหนะส�ำหรับ
การโดยสาร และการเดินทางในระยะทางไม่ไกลเกินไปนัก ล้วนแล้วแต่เป็นการเร่งการแพร่กระจายท่ีดี
อกี ด้วย
2) ปัจจัยทางเศรษฐกิจ การที่ผคู้ นตอ้ งเดินทางติดต่อไปมาหาสูก่ นั สว่ นมาก เนื่องมาจากปัญหา
ทางเศรษฐกจิ บา้ งก็ต้องการไปเท่ยี วเตร่ดสู ิ่งแปลกใหม่ แตก่ ต็ ้องมีเงินทองจึงจะไปเท่ียวถ่ินอ่นื ได้ คนทม่ี ี
เศรษฐกจิ ดจี ึงมีโอกาสน�ำวฒั นธรรมตดิ ตวั ไปสงั สรรค์กับวฒั นธรรมอ่ืนได้