Page 42 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 42
2-32 ความรูท้ างสงั คมศาสตร์และเทคโนโลยีส�ำ หรับนักนเิ ทศศาสตร์
ในการแลกเปลย่ี นจงึ กลายเปน็ ความจำ� เปน็ ทางจติ วทิ ยามากกวา่ เศรษฐกจิ จงึ กอ่ ใหเ้ กดิ พลงั ของการผกู พนั
ระหวา่ งกัน ซง่ึ เปน็ ส่งิ สำ� คัญในการอธิบายพฤตกิ รรมสงั คมมากกว่าหลักการทางเศรษฐศาสตร์ นอกจากนี้
ความสมั พนั ธก์ ารแลกเปลยี่ นเปน็ กระบวนการทางสงั คมทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ การจำ� แนกความแตกตา่ งของตำ� แหนง่
และฐานะในสงั คมขน้ึ
คลาวด์ เลว-ี สเตรา้ ส์ (Claude Levi-Strauss) มีมมุ มองท่ีแตกต่างออกไปจากท้ังเฟรเซอรแ์ ละ
มาลิเนาสกี เขาเชื่อว่ากระบวนการแลกเปล่ียนส�ำคัญมากกว่าวัตถุหรือส่ิงท่ีแลกเปลี่ยน พร้อมทั้งเน้นว่า
มนุษย์มีมรดกทางวัฒนธรรมท่ีเก่ียวกับค่านิยมและบรรทัดฐานซ่ึงท�ำให้แตกต่างจากการแลกเปล่ียนของ
สัตวโ์ ลกอนื่ ๆ เพราะสตั ว์มีการแลกเปล่ยี นแตไ่ มม่ กี ารปฏบิ ัติตามค่านิยมหรอื กฎเกณฑ์อย่างเช่นมนุษยซ์ ่ึง
มีกำ� หนดชดั เจนว่าจะแลกเปลี่ยนอะไร เมื่อไหร่ ทีไ่ หน และอย่างไร และสงิ่ เหล่าน้จี ะกลายเปน็ รปู รอยหรือ
เปน็ หลกั แนวในการประพฤตริ ะหวา่ งกนั ตอ่ ไป ตามแนวคดิ ของ เลว-ี สเตรา้ ส์ หลกั การแลกเปลย่ี นทส่ี ำ� คญั
ได้แก่
1. ความสมั พนั ธแ์ ลกเปลย่ี นทกุ อยา่ งยอ่ มมคี า่ ใชจ้ า่ ย ซงึ่ ไมใ่ ชค่ า่ ใชจ้ า่ ยตามแนวคดิ ทางเศรษฐกจิ
เสมอไป เชน่ คา่ ใช้จ่ายเชิงประเพณี กฎเกณฑ์ คา่ นิยม ซึ่งบคุ คลจะไมป่ ระเมินคา่ ใช้จา่ ยให้ตนเอง แตจ่ ะ
ให้กบั ระเบยี บสงั คมทต่ี ้องมีพฤติกรรมการแสดงออก (ถอื เปน็ ค่าใชจ้ ่ายอยา่ งหนงึ่ )
2. ส่ิงที่หายากในสังคม ไม่ว่าจะเป็นวัตถุส่ิงของหรือเป็นสัญลักษณ์ (เช่น เกียรติคุณ ชื่อเสียง)
เมอ่ื แจกจา่ ยออกไปกต็ อ้ งอยใู่ นกรอบของบรรทดั ฐานหรอื คา่ นยิ มของสงั คม ถา้ เปน็ สง่ิ ทหี่ ายากมากกจ็ ะตอ้ ง
สร้างระเบียบในการแจกจา่ ยมากกวา่ ของทหี่ าไดไ้ มย่ ากซึง่ สามารถแจกจ่ายไดโ้ ดยไมต่ อ้ งถูกควบคมุ
3. ความสมั พนั ธแ์ ลกเปลยี่ นทกุ อยา่ งตอ้ งขน้ึ อยกู่ บั กฎเกณฑข์ องการใหแ้ ละการรบั (reciprocity)
กลา่ วคอื ผู้รบั จะตอ้ งมีข้อผูกพนั ในการใหต้ อบ บางครงั้ อาจเป็นการใหแ้ ละรับแบบตรง (mutual คือการให้
และรบั จากคสู่ มั พนั ธโ์ ดยตรงและมมี ลู คา่ เทา่ กนั ) บางครงั้ อาจเปน็ การใหห้ รอื รบั แบบฝา่ ยเดยี ว (univocal)
โดยการใหต้ อบคนื อาจผา่ นบุคคลที่ 3 กไ็ ด้
ลักษณะการแลกเปลี่ยน
การแลกเปลย่ี นอาจแบ่งออกเปน็ สองระดับ คือ (1) ปรวิ รรตนยิ มพฤติกรรม (Exchange beha-
viorism) ซง่ึ เปน็ การแลกเปลยี่ นระหวา่ งคนสองคนหรอื กลมุ่ คนขนาดเลก็ บางทกี เ็ รยี กวา่ เปน็ การแลกเปลยี่ น
ระดับบุคคล และ (2) ปริวรรตนิยมเชิงโครงสร้าง (Exchange structuralism) ซ่ึงเป็นการแลกเปลี่ยน
ระหว่างคนหมู่มาก คู่แลกเปล่ียนอาจไม่จ�ำเป็นต้องเห็นหน้ากัน บางคร้ังก็เรียกว่าเป็นการแลกเปลี่ยน
รวมหมู่ ซงึ่ มรี ายละเอียดดงั น้ี (สญั ญา สัญญาววิ ฒั น,์ 2545)
1. การแลกเปลยี่ นระดบั บคุ คล (individual exchange) มลี กั ษณะทวั่ ไปทเี่ หน็ ไดจ้ ากการแลกเปลย่ี น
ระดับนี้คือ ในสถานการณ์ใดๆ มนุษย์มักจะมีพฤติกรรมแลกเปล่ียนท่ีให้ผลตอบแทนมากท่ีสุดและให้เกิด
ผลร้ายน้อยที่สุด โดยจะมีพฤติกรรมซ�้ำๆ กับที่เคยเกิดขึ้นในอดีต โดยเฉพาะเมื่อการแลกเปลี่ยน้ันให้ผล
ตอบแทนงามๆ และสงิ่ กระตนุ้ ทใ่ี หผ้ ลตอบแทนงามๆ นเี้ องจะกอ่ ใหเ้ กดิ การกระทำ� ซำ�้ ตอ่ ไปเรอื่ ยๆ ตราบใด
ทผี่ ลตอบแทนยงั มอี ยู่ ยกเว้นถา้ ผลตอบแทนนัน้ ไมเ่ กิดขนึ้ เชน่ เดิมก็จะแสดงความไมพ่ อใจ โกรธขึง้ แตถ่ า้