Page 39 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 39

ความรดู้ ้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 2-29
ประเมินเหตุการณ์ ให้ความหมาย และตัดสินใจท่ีจะมีการกระท�ำโต้ตอบได้ (สมศักด์ิ ศรีสันติสุข, 2536:
58)

       ในการระหว่างมีปฏิสัมพันธ์ของคนในสังคมจะมีลักษณะเป็นสองช้ัน ช้ันแรกคือการกระท�ำจริงๆ
(actions) อกี ชน้ั หน่งึ เป็นการกระทำ� เชิงสัญลกั ษณ์ (symbols) ซงึ่ ทฤษฎนี ีใ้ ห้ความสำ� คญั กับการกระท�ำ
ในชนั้ ทีส่ องเปน็ พเิ ศษ (สรุ ชิ ยั หวันแก้ว, 2548: 53)

       นักสงั คมวทิ ยาทใี่ ห้ความสนใจศึกษาทฤษฎปี ฏิสัมพันธ์เชงิ สัญลักษณน์ ี้ เช่น จอหน์ ดิวอี้ (John
Dewey) วิลเลียม ไอ โทมัส (William I. Thomas) จอรจ์ เฮอรเ์ บริ์ต มดี้ (George Herbert Mead)
โดยเฉพาะคนสดุ ทา้ ยคอื จอรจ์ เฮอรเ์ บรต์ิ มดี้ ไดข้ ยายความทฤษฎนี ใ้ี นการศกึ ษาการมปี ฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ ง
กันของคนในสังคมว่า ความคิด ประสบการณ์ และพฤติกรรมมีส่วนส�ำคัญ เน่ืองจากมนุษย์สร้างความ
สัมพนั ธผ์ า่ นระบบสัญลกั ษณ์ สญั ลกั ษณท์ สี่ ำ� คญั ทส่ี ดุ คอื ภาษา สัญลักษณอ์ าจเป็นวตั ถุ เหตุการณ์ หรือ
การกระทำ� เกยี่ วกบั วตั ถหุ รอื เหตกุ ารณน์ น้ั ขนึ้ อยกู่ บั การตคี วามระบบสญั ลกั ษณน์ นั้ ๆ เชน่ เมอื่ บทสนทนาหนง่ึ
กลา่ วถงึ “เกา้ อ”ี้ ผู้ร่วมสนทนาอาจหมายถึง ของใช้ในสำ� นกั งานทเ่ี อาไวใ้ ชน้ ง่ั ทำ� งาน หรืออาจจะหมายถึง
เครื่องเรือนท่ีสามีภรรยาก�ำลังตัดสินใจซื้อ หรืออาจหมายถึง การครอบครองต�ำแหน่ง เช่น ถ้าพูดว่า
“เลื่อยขาเก้าอ้ี” อาจไม่ได้หมายถึงการกระท�ำน้ันจริงๆ (ใช้อุปกรณ์เลื่อยตัดขาเก้าอ้ี) แต่ผู้ฟังจะตีความ
ไดว้ ่าผ้พู ูดหมายถงึ การพยายามสั่นคลอนต�ำแหนง่ หน้าที่ (เกา้ อ)้ี ทม่ี ผี ูค้ รอบครองอยู่ เปน็ ตน้

       ดังนั้น สญั ลักษณ์ จึงเป็นวธิ กี ารทมี่ นษุ ยใ์ ช้ปฏสิ ัมพันธอ์ ยา่ งมคี วามหมายกบั ธรรมชาติ ผ้คู น และ
บรบิ ททางสงั คม สง่ิ สำ� คญั คอื สญั ลกั ษณไ์ มใ่ ชส่ ญั ชาตญาณ แตเ่ ปน็ สงิ่ ทมี่ นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ มา ถา้ ไมม่ สี ญั ลกั ษณ์
มนษุ ยจ์ ะมปี ฏสิ มั พนั ธก์ นั ไมไ่ ดแ้ ละจะไมม่ ี “สงั คม” เกดิ ขนึ้ การทมี่ นษุ ยม์ ปี ฏสิ มั พนั ธก์ นั โดยใชส้ ญั ลกั ษณ์
ทำ� ใหม้ นษุ ยไ์ มต่ อ้ งใชส้ ญั ชาตญาณในการสรา้ งพฤตกิ รรมเพอ่ื ความอยรู่ อด มนษุ ยจ์ งึ สรา้ งระบบสญั ลกั ษณ์
ขนึ้ มา และมนษุ ยก์ อ็ ยใู่ นโลกแหง่ การตคี วามหมาย (world of meaning) คอื ตคี วามหมายตอ่ สงิ่ เรา้ และ
ตอบสนองต่อส่ิงน้ัน คนเราอาจจะเข้าใจและตีความสัญลักษณ์ต่างกันเพราะอิทธิพลของประสบการณ์
ภูมิหลงั วัฒนธรรม ความเชอื่ ฯลฯ นนั่ เอง นอกจากน้กี ารตีความหมายสญั ลักษณร์ ะหว่างคนในสงั คมยัง
จะต้องอาศัยสัญลักษณ์ร่วม (common symbols) ท่ีมนุษย์ในสังคมตีความร่วมกัน เพื่อให้มนุษย์มี
ปฏิสมั พนั ธก์ นั สามารถส่อื สารกันให้บรรลุเปา้ หมายเพ่อื ใหช้ ีวติ ในสังคมดำ� เนนิ ไปได้

       การรู้จักและเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์ท่ีใช้ในการสัมพันธ์กับผู้อ่ืน จอร์จ เฮอร์เบิร์ต มี้ด
เรยี กว่า การรบั รบู้ ทบาท (role–taking) คือ การรบั ร้บู ทบาทของตนและผู้อืน่ ท�ำให้คนเรารบั รแู้ ละเขา้ ใจ
ความหมายตลอดจนความตั้งใจหรือเจตนารมณ์ของผู้อื่น ท�ำให้สามารถตอบสนองหรือมีปฏิสัมพันธ์กับ
ผูอ้ นื่ ได้เปน็ อย่างดี เมือ่ บคุ คลคดิ ออกไปนอกตัว แลว้ มองยอ้ นกลับมาที่ตวั เอง ท�ำให้การรับรูบ้ ทบาทของ
ผู้อ่ืนสง่ ผลให้บคุ คลได้รูจ้ ัก ตนเองดีขึ้น และรู้ว่าผอู้ น่ื คดิ อยา่ งไรกบั ตน ทำ� ให้สามารถอยู่ในสงั คมและสรา้ ง
ความร่วมมือทางสังคมกับผู้คน (cooperative action) ได้เป็นอย่างดี มี้ดยังได้ขยายความว่า การรับรู้
บทบาทนั้นไม่ได้เป็นไปโดยอัตโนมัติ แตม่ ขี ้นั ตอนการพฒั นาดงั นี้

       1.	 ขัน้ การเล่นในเด็กเล็ก (play stage) เดก็ เลก็ ๆ มักเลน่ บทบาทท่ีไม่ใช่ของตนเอง เช่น บทพอ่
แม่ ต�ำรวจจับผรู้ ้าย เจา้ ชายเจ้าหญงิ แมค่ ้าขายขนมหรอื ของกิน ซ่งึ ท�ำให้เด็กรูถ้ ึงความแตกตา่ งระหว่าง
ตนเองกับผู้อ่ืนและบทบาทการเลน่ ทแี่ ตกตา่ งออกไป
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44