Page 35 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 35

ความรู้ด้านสงั คมวทิ ยาและมานุษยวิทยา 2-25
       คาร์ล มารก์ ซ์ (Karl Marx) (อ้างใน สุริชัย หวันแก้ว, 2548) กลา่ วถงึ ความขดั แย้งท่นี ำ� ไปสกู่ าร
เปล่ียนแปลงในสังคมโดยระบุว่า ระบบเศรษฐกิจมีส่วนส�ำคัญในการก�ำหนดโครงสร้างของสังคม การจัด
ระเบียบทางเศรษฐกิจจะก�ำหนดให้เกิดการจัดระเบียบสังคมเป็นโครงสร้างแบบชนช้ัน และสถาบันต่างๆ
รวมท้ังค่านิยม ความเชื่อและระบบความคิดในแต่ละชนชั้นท�ำให้เกิดพลังแห่งการปฏิวัติหรือขัดแย้งข้ึนใน
สงั คมเพอื่ ชว่ งชงิ ทรพั ยากรในระบบเศรษฐกจิ โดยมารก์ ซไ์ ดแ้ บง่ โครงสรา้ งสรา้ งสงั คมออกเปน็ สองชนั้ กลา่ ว
คือ
       1.	 โครงสร้างส่วนบน (Superstructure) อนั ประกอบดว้ ยระบบแนวคิดและสถาบนั ต่างๆ เช่น
กฎหมาย ศาสนา ความเช่อื อุดมการณ์ คา่ นิยม เปน็ ต้น เหลา่ นีจ้ ะมีหน้าทสี่ องประการคอื ประการแรก
สร้างความชอบธรรมในกฎหมายซึ่งบัญญัติข้ึนโดยช้ันชนปกครองเพ่ือปกป้องผลประโยชน์ของกลุ่มพวก
ตน และประการทสี่ องคอื ใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ของชนชน้ั ปกครองเพอ่ื รกั ษาสถานภาพและบทบาททเี่ หนอื กวา่
เอาไว้
       2.	 โครงสร้างส่วนล่าง (Substructure) เปน็ รากฐานทางเศรษฐกจิ เชน่ พลงั การผลติ ทรพั ยากร
เทคโนโลยี เป็นตน้ ซึ่งโครงสร้างนี้จะเปน็ ฐานให้กับโครงการส่วนบน โดยลกั ษณะของโครงสร้างสว่ นล่าง
จะประกอบดว้ ย (1) พลงั การผลิต อนั ได้แกก่ ารน�ำทรัพยากร วตั ถดุ ิบ เทคโนโลยี มาใช้ในการผลติ ให้เกิด
ผลผลติ ป้อนเข้าสู่สังคมท้ังสองส่วน (2) ความสัมพันธ์ของการผลติ คอื การท่บี ุคคลหรอื กลมุ่ บุคคลมีความ
สมั พนั ธก์ นั เพอ่ื สรา้ งพลงั การผลติ ทำ� ใหเ้ กดิ ชนชนั้ ทางสงั คมขนึ้ คอื เจา้ ของปจั จยั การผลติ (ซง่ึ มจี ำ� นวนนอ้ ย
แตไ่ ด้รบั ประโยชนจ์ ากพลงั การผลติ มาก) กบั ผู้ทไี่ มไ่ ด้เปน็ เจา้ ของปจั จัยการผลติ หรอื ชนช้ันแรงงาน (ซ่ึง
มจี �ำนวนมาก แต่ได้รับประโยชน์จากพลงั การผลิตน้อย)
       เม่ือเป็นเช่นนี้จึงท�ำให้เกิดความขัดแย้งระหว่างชนชั้นผู้เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตกับผู้ใช้แรงงาน
ในการผลติ สง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ ในโครงสรา้ งสว่ นลา่ งของสงั คม และเมอื่ โครงสรา้ งสว่ น
ล่างมีการเปล่ียนแปลงจะมีผลท�ำให้เกิดการผันแปรและเปลี่ยนแปลงต่อไปยังโครงสร้างส่วนบนของสังคม
ซึง่ เปน็ สถาบันทางสงั คม เชน่ รฐั บาล ครอบครวั การศกึ ษา ศาสนา ดงั นนั้ ในการศกึ ษาสังคมวทิ ยาตาม
แนวคดิ ของมารก์ ซก์ จ็ ะมงุ่ พจิ ารณาการเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งทางสงั คมทเ่ี กดิ จากเงอื่ นไขทางเศรษฐกจิ ใน
แต่ละยุคแต่ละสมัย ความขัดแย้งจึงเป็นเร่ืองเก่ียวกับการครอบครองและใช้ประโยชน์รวมทั้งการแบ่งปัน
ทรัพยากร ทรัพย์สนิ หรือปจั จัยการผลติ ทง้ั ส้นิ
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40