Page 31 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 31

ความรู้ด้านสังคมวิทยาและมานุษยวทิ ยา 2-21
การขยายตัวและซับซ้อนเพ่ิมมากข้ึนน�ำมาซ่ึงความแตกต่างของการท�ำหน้าที่ท่ีมากขึ้นเช่นเดียวกัน
นอกจากน้ีแม้แต่ละส่วนที่ประกอบข้ึนเป็นโครงสร้างจะท�ำหน้าท่ีต่างกัน แต่ก็ต้องพ่ึงพาอาศัยกันและกัน
การเปล่ยี นแปลงท่ีเกดิ ข้นึ กบั โครงสรา้ งหนา้ ท่หี นงึ่ ก็จะสง่ ผลกระทบตอ่ สว่ นอนื่ ดว้ ย

       สว่ นเดอรไ์ คมม์ องวา่ แนวคดิ ของกอ็ งตแ์ ละสเปนเซอรม์ คี วามเปน็ นามธรรมมากเกินไป เปา้ หมาย
ของเดอร์ไคม์จึงมุ่งให้แนวคิดทางสังคมวิทยาในเร่ืองโครงสร้างหน้าท่ีสามารถตรวจสอบได้ในเชิงประจักษ์
หรอื สามารถวเิ คราะหค์ วามเปน็ จรงิ ในสงั คมได้ เชน่ สงั คมสมยั ใหม่ (modern society) ไดม้ กี ารแบง่ หนา้ ท่ี
แรงงาน ท�ำให้เกิดความแตกต่างของแต่ละส่วนในสังคมจนเกิดความช�ำนาญเฉพาะ เช่น หมอ ต�ำรวจ
นกั วทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ การแบง่ แยกนไ้ี มใ่ ชค่ วามขดั แยง้ แตเ่ ปน็ ความสอดคลอ้ งในการแบง่ แยกหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ
จึงทำ� ให้สงั คมดำ� รงอยไู่ ด้ ซงึ่ แนวคิดของเดอรไ์ คม์ไดเ้ ป็นฐานใหน้ ักสังคมวทิ ยาในรุ่นต่อๆ มา

       ทางด้าน โรเบริ ์ต เค. เมอร์ตนั (Robert K. Merton) ไดจ้ �ำแนกหน้าท่ที างสังคมออกเปน็ หน้าท่ี
หลกั (manifest) หนา้ ทรี่ อง (latent) หนา้ ทท่ี ไี่ มพ่ งึ ปรารถนา (dysfunctional) หนา้ ทขี่ องบางโครงสรา้ ง
สังคมอาจมีประโยชน์ต่อคนส่วนใหญ่ แต่ขณะเดียวกันคนบางส่วนอาจได้รับประโยชน์เพียงน้อยนิดหรือ
อาจไมไ่ ดร้ บั ผลประโยชนเ์ ลย ซง่ึ รวมไปถงึ อาจจะมคี นบางกลมุ่ หรอื บางสว่ นของสงั คมไดร้ บั ผลเสยี จากการ
ท�ำงานของโครงสรา้ งสงั คมนนั้ กไ็ ด้

       ขณะเดยี วกนั ทฤษฎโี ครงสรา้ งหนา้ ทกี่ ไ็ ดถ้ กู กลา่ วถงึ ในการศกึ ษาดา้ นมานษุ ยวทิ ยาเชน่ เดยี วกนั
โดย เอ.อาร์ แรดคลฟิ ฟ์ บราวน์ (A.R. Radcliffe-Brown) นกั มานษุ ยวทิ ยาชาวองั กฤษ และ โบรนสิ ลอร์
มาลิเนาสกี (Bronislaw Malinowski) ให้ความเห็นว่า การจะเข้าใจระบบเศรษฐกิจนั้นจะต้องเข้าใจถึง
โครงสรา้ งสงั คมกอ่ นและระบบเศรษฐกจิ เป็นผลทเ่ี กดิ จากโครงสรา้ งสงั คม แนวคดิ น้เี ช่อื ว่า สังคมจะมกี าร
เปลี่ยนแปลงไปในทางท่ดี ีขึ้นและก้าวหน้าขน้ึ การศกึ ษาสังคมตามแนวคิดน้ีมกั จะใหภ้ าพนิง่ มากกว่าภาพ
ทเ่ี คล่อื นไหว สำ� หรบั ในเรือ่ งความเปน็ ปึกแผน่ ทางสงั คม (social solidarity) จะท�ำใหม้ องภาพความขดั
แย้งหรือเสียระเบียบทางสงั คมวา่ เปน็ พยาธิสภาพทางสังคม (social pathological) และจ�ำเป็นตอ้ งแก้ไข
เพื่อให้สงั คมมีความเป็นระเบียบมากขน้ึ

       เนื่องจากนักทฤษฎีในแนวคิดนี้ได้รับอิทธิพลทางความคิดจาก เดอร์ไคมส์ การศึกษาด้าน
มานุษยวิทยาในกลุ่มน้ีจึงเน้นศึกษาระบบเครือญาติโดยใช้ข้อมูลชาติพันธุ์วรรณา (ethnography) แสดง
ความสมั พนั ธท์ างเครอื ญาตริ ะหวา่ งคนทมี่ คี วามผกู พนั ทางสงั คม หากมคี วามขดั แยง้ กนั ในความสมั พนั ธก์ ็
จะมีการยอมรับความขัดแย้งและจัดการอย่างเป็นทางการจนท�ำให้ช่วยลดความขัดแย้งได้และสังคมก็จะ
ด�ำรงอยตู่ อ่ ไปไดใ้ นท่ีสุด

แนวคิดเร่ืองหน้าที่นิยม

       แนวคดิ หนา้ ทนี่ ยิ ม (functionalism) มพี น้ื ฐานวา่ ในทกุ สงั คมจะมกี ารกำ� หนดหนา้ ทแ่ี ละวางระบบ
การจดั การอยา่ งเปน็ ระเบยี บและสมาชกิ ของสงั คมสว่ นใหญเ่ หน็ ดว้ ยและปฏบิ ตั ติ ามบรรทดั ฐานในสงั คมนน้ั
บทบาทและสถานภาพ กลมุ่ และสถาบนั สงั คมตา่ งๆ ทำ� ใหส้ มาชกิ เปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั และสมาชกิ ตา่ ง
ยอมรบั ในบทบาทหนา้ ทแ่ี ละกฎเกณฑท์ ก่ี ำ� หนดเพอื่ การดำ� รงอยขู่ องสงั คมทมี่ เี สถยี รภาพ แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม
บางครั้ง สถานการณ์บางอย่างอาจจะไม่เป็นไปตามบทบาทและหน้าท่ีที่ควรจะเป็น ดังน้ันจึงต้องมีการ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36