Page 32 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 32
2-22 ความร้ทู างสงั คมศาสตร์และเทคโนโลยีส�ำ หรบั นกั นเิ ทศศาสตร์
เปลย่ี นแปลงทส่ี ว่ นใดสว่ นหนง่ึ เพ่อื ปรบั สภาพให้สอดคลอ้ งกันหรืออาจกลา่ วได้วา่ หากองค์ประกอบส่วน
ใดส่วนหนึ่งในระบบสังคมน้ันเปล่ียนแปลงก็ย่อมส่งผลกระทบต่อส่วนอ่ืนๆ เพ่ือรักษาสมดุลของระบบน้ัน
หรอื เปล่ยี นให้เขา้ สู่สมดุลเคลอื่ นท่ี
ในสังคมโดยท่ัวไปแล้วเราจะพบว่าไม่มีส่วนใดหรือโครงสร้างส่วนใดของสังคมที่ท�ำหน้าท่ีของตน
ไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ และถา้ เกดิ ภาวะทเ่ี ปน็ ความบกพรอ่ งในหนา้ ทข่ี องสว่ นใดสว่ นหนง่ึ เรอ่ื ยไปแลว้ สงั คมกจ็ ะ
เกิดความตึงเครียด โดยเฉพาะปัญหาที่เกิดจากความกดดันภายในโครงสร้างสังคมน้ัน อย่างไรก็ตามใน
สงั คมซง่ึ ประกอบดว้ ยบคุ คลตา่ งๆ เมอื่ บคุ คลเหลา่ นน้ั รสู้ กึ วา่ ขาดบางสงิ่ บางอยาง ถา้ เปน็ สง่ิ ทไ่ี มส่ ำ� คญั นกั
การขาดดลุ ภาพกไ็ ม่น่าวติ กกังวล แตถ่ า้ เปน็ เรอื่ งทีส่ �ำคญั มาก เช่น การขาดความยุติธรรม การเสอ่ื มทาง
ศีลธรรมอย่างมากมาย การปล่อยปละละเลยให้มีการฝ่าฝืนกฎหมาย ฯลฯ สง่ิ เหลา่ นี้จะเปน็ เครื่องท�ำลาย
ความมนั่ คงของสงั คมและดา้ นจติ ใจของประชาชนเองทง้ั ในรนุ่ ปจั จบุ นั และรนุ่ ตอ่ ไป ซง่ึ หมายถงึ การดำ� รงอยู่
หรือการเสือ่ มสลายของสงั คมทเี ดยี ว ความตึงเครยี ดจะต้องมขี ึน้ อย่างรนุ แรง ทางออกของความพยายาม
สร้างสมดุลดังกล่าวจึงพบว่า อาจมกี ารวพิ ากษว์ จิ ารณ์ทางส่ือมวลชนหรอื การเปดิ อภปิ รายในกลุ่มคนตาม
ท่ีสาธารณะ ทุกคนที่เกี่ยวข้องก็จะหาทางแก้ไขสถานการณ์ เพื่อให้การเปล่ียนแปลงก็จะเกิดข้ึนจนสังคม
กลบั เขา้ สสู่ ภาพปกตเิ ชน่ เดมิ การแกไ้ ขสถานการณด์ งั กลา่ วนจี้ ำ� เปน็ ตอ้ งแกท้ กุ จดุ หรอื กลา่ วไดอ้ กี อยา่ งหนง่ึ
วา่ จำ� เปน็ ตอ้ งเปล่ยี นแปลงในทุกๆ ดา้ น ทฤษฎีโครงสร้างการหน้าท่ีจึงถือวา่ การเปลี่ยนแปลงจะเริม่ ตน้ ใน
ส่วนใดส่วนหน่ึงของสังคมหรือหลายส่วนพร้อมกันก็ได้และโดยทั่วไปการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนจะส่งผล
สะทอ้ นไปยังโครงสร้างส่วนอ่นื ๆ ในสังคมซ่งึ จะตอ้ งปรบั ตวั ตาม
ภายใต้ทฤษฎีโครงสร้างหน้าทที่ ุกระบบในโครงสร้างมีข้อบังคับทางหน้าที่ ซ่ึงทัลคอตต์ พาร์สันส์
(Talcott Parsons) ไดร้ ะบุไว้ 4 ประการ คือ (อ้างใน สุริชยั หวันแก้ว, 2548)
1. การปรบั ตวั (adaptation) ในการทำ� หนา้ ทรี่ ะบบจำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สถานการณ์
ตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ภายนอกเพอื่ ปรบั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มภายนอกเพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการตา่ งๆ ของ
ระบบ เชน่ การปรบั ตวั ของโครงสรา้ งครอบครวั ทเ่ี ปน็ ลกั ษณะครอบครวั เดย่ี วมากขนึ้ ในสงั คมเมอื ง เปน็ ตน้
2. การบรรลเุ ปา้ หมาย (goal attainment) ระบบจะกำ� หนดเปา้ หมายและดำ� เนนิ การเพอื่ ใหบ้ รรลุ
เป้าหมายหลกั ตา่ งๆ เช่น ครอบครัวมเี ป้าหมายเพอ่ื ผลติ และเตรียมคนเข้าสู่สงั คม เป็นต้น
3. การบูรณาการ (integration) ระบบจ�ำเป็นต้องก�ำหนดความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ
ตา่ งๆ และจดั บูรณาการความสมั พนั ธ์ระหว่างหนา้ ทพี่ น้ื ฐานอน่ื ๆ
4. การรกั ษาแบบแผน (pattern maintenance) ระบบจะต้องธ�ำรงไว้และฟ้ืนฟอู ยตู่ ลอด โดยมี
แรงจูงใจใหผ้ คู้ นท่ีอยใู่ นระบบโครงสรา้ งเหล่านัน้ ชว่ ยกันธำ� รงรักษาแบบแผนดังกลา่ ว
เจฟฟรีย์ อเล็กซานเดอร์ (Jeffrey Alexander) นักทฤษฎโี ครงสร้างและหน้าท่นี ยิ มอีกคนหน่งึ
ได้เสนอแนวความคิดท่ีจะปรับปรุงทฤษฎีให้มีความเหมาะสมมากย่ิงขึ้น โดยเสนอให้เปล่ียนแปลงทฤษฎี
โครงสร้างหนา้ ทีเ่ ป็นทฤษฎหี น้าทีน่ ยิ มแนวใหม่ (Neo–Functionalism) และเสนอแนวความคิดไว้ ดงั นี้