Page 37 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 37

ความรู้ด้านสังคมวทิ ยาและมานษุ ยวิทยา 2-27
       ตามแนวความคดิ ของมารก์ ซล์ ำ� ดบั ขนั้ ของความขดั แยง้ ทนี่ ำ� ไปสกู่ ารเปลย่ี นแปลงสงั คมโดยชนชน้ั
ล่างเกดิ จากกระบวนการดงั ต่อไปนี้
       -	 มีความต้องการในการผลิต
       -	 เกิดการแบ่งแยกแรงงาน
       -	 มกี ารสะสมและพฒั นาทรัพยส์ ินสว่ นบุคคล
       -	 ความไมเ่ ทา่ เทียมทางสังคมมมี ากขึน้
       -	 เกดิ การต่อสรู้ ะหว่างชนชัน้ ในสงั คม
       -	 เกดิ ตัวแทนทางการเมอื งเพือ่ ทำ� การรักษาผลประโยชนข์ องแต่ละชนชัน้
       -	 เกิดการปฏวิ ัติโดยชนช้นั ลา่ ง
       ในอีกมมุ มองหนึ่ง เลวิส เอ. โคเซอร์ (Lewis A. Coser) นกั ทฤษฎคี วามขดั แยง้ เสนอวา่ ความ
ขดั แยง้ สามารถกอ่ ใหเ้ กดิ ผลทง้ั ดา้ นบวกและดา้ นลบ โดยความขดั แยง้ ไดก้ ลายเปน็ สว่ นหนง่ึ ของกระบวนการ
ขดั เกลาทางสงั คม ไมม่ รี ะบบใดในทจ่ี ะดำ� เนนิ ไปหรอื ทำ� หนา้ ทไี่ ปอยา่ งสมานสามคั คหี รอื อยา่ งสมบรู ณแ์ บบ
โดยท่ัวไปแล้ว โคเซอรเ์ หน็ วา่ ความขัดแย้งเปน็ ส่วนหนึ่งของสภาวะธรรมดาของมนุษย์ ทง้ั ในความเกลียด
และความรกั ตา่ งกม็ ีความขดั แยง้ ทงั้ สนิ้ แต่ความขัดแยง้ กท็ �ำใหเ้ กดิ การแกป้ ญั หาความแตกแยกและทำ� ให้
เกดิ ความสามคั คภี ายในกลมุ่ ได้ เพราะในกลมุ่ มที ง้ั ความเปน็ มติ รและความเปน็ ศตั รอู ยดู่ ว้ ยกนั โคเซอรเ์ หน็
ว่าความขัดแย้งเป็นตัวสนับสนุนให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางสังคม สามารถท�ำให้สังคมเปลี่ยนชีวิตความ
เป็นอยูจ่ ากดา้ นหนึ่งไปสอู่ กี ดา้ นหนง่ึ ได้ เพราะหากสมาชกิ ในสงั คมเกดิ ความไม่พึงพอใจต่อสงั คมท่เี ขาอยู่
เขาจะพยายามเปลยี่ นแปลงสง่ิ ตา่ งๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามเปา้ หมายของเขาได้ นอกจากนคี้ วามขดั แยง้ ยงั สามารถ
ทำ� ให้เกิดการแบง่ กลุม่ ลดความเป็นปรปกั ษ์ พฒั นาความซบั ซ้อนของโครงสรา้ งกลมุ่ ในด้านความขดั แย้ง
และรว่ มมอื และสรา้ งความแปลกแยกกบั กลมุ่ ต่างๆ เป็นตน้
       ราฟ ดาหเ์ รนดอร์ฟ (Ralf Dahrendorf) เปน็ อกี คนหนง่ึ ทเี่ หน็ แยง้ กับแนวความคิดของมารก์ ซ์
ทวี่ า่ ชนชนั้ ในสงั คมเกดิ จากความขดั แยง้ เรอ่ื งปจั จยั การผลติ เขาเสนอวา่ ความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ในสงั คมนนั้
เกิดจากความไมเ่ ทา่ เทียมกันในเรอ่ื งของสทิ ธอิ ำ� นาจ (authority) เน่อื งจากโครงสรา้ งสังคมท่ีเกดิ ขน้ึ แบง่
ออกได้เป็นสองกลุ่มคือ กลุ่มท่ีมีสิทธิอ�ำนาจกับกลุ่มท่ีไม่มีสิทธิอ�ำนาจ สังคมจึงเกิดกลุ่มแบบไม่สมบูรณ์
(quasi groups) ของทง้ั สองฝา่ ยทต่ี า่ งมผี ลประโยชนแ์ อบแฝง (latent Interest) อยเู่ บอื้ งหลงั ดงั นนั้ แตล่ ะ
ฝา่ ยจงึ ตอ้ งพยายามรักษาผลประโยชนข์ องตนเอาไว้ โดยมีผนู้ �ำท�ำหน้าทเ่ี จรจาเพือ่ ปรองดองผลประโยชน์
ซง่ึ กนั และกนั ดงั นนั้ ระดบั ของความขดั แยง้ ทเี่ กดิ ขน้ึ จะรนุ แรงมากหรอื นอ้ ยจงึ ขน้ึ อยกู่ บั การจดั การและการ
ประสานผลประโยชน์ จึงเห็นได้ว่าตามแนวคิดของดาห์เรนดอร์ฟ ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคมสามารถ
ควบคมุ ได้ดว้ ยการประนีประนอม และยังสามารถท�ำให้โครงสร้างของสงั คมเปลยี่ นแปลงได้
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42