Page 45 - ความรู้ทางสังคมศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักนิเทศศาสตร์
P. 45

ความรู้ดา้ นสังคมวิทยาและมานษุ ยวิทยา 2-35

เรื่องที่ 2.2.5
แนวคิดทฤษฎีทางมานุษยวิทยา

       ดังท่ีได้อธิบายไว้ในตอนต้นเก่ียวกับวิชามานุษยวิทยาและสังคมวิทยาท่ีว่าเป็นอีกสาขาหนึ่งของ
การศกึ ษาดา้ นสงั คมศาสตร์ ในเรอ่ื งที่ 2.2.5 นจี้ ะไดอ้ ธบิ ายถงึ แนวคดิ ทางมานษุ ยวทิ ยาซง่ึ มที ฤษฎที ส่ี ำ� คญั
ส�ำหรับใช้เป็นแนวทางในการศึกษาได้มากมาย แต่ในท่ีนี้จะน�ำเสนอเพียง 3 ทฤษฎีส�ำคัญเท่านั้น ได้แก่
ทฤษฎีวัฒนธรรมและบุคลกิ ภาพ ทฤษฎีนิเวศวิทยาวัฒนธรรม และทฤษฎีการแพร่กระจายทางวฒั นธรรม
ดงั น้ี

1. 	 ทฤษฎีวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ

       แนวคดิ ทฤษฎวี ฒั นธรรมและบคุ ลกิ ภาพ (Culture and personality theory) เนน้ ศกึ ษาอทิ ธพิ ล
ของวัฒนธรรมและการปรับตัวของปัจเจกบุคคล โดย รูธ เบเนดิกต์ (Ruth Benedict) ได้เขียนหนังสือ
เร่ือง “Patterns of Culture” (1934) เสนอความคิดเกี่ยวกับรูปลักษณ์ทางวัฒนธรรม (Cultural
configuration) ที่ถือว่าส่วนประกอบต่างๆ ของวัฒนธรรมมีลักษณะพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและรวมเป็น
หนึ่งเดียว เบเนดิกต์เช่ือว่า ปัจเจกบุคคลและกระบวนการทางจิตวิทยาของปัจเจกบุคคลมีอิทธิพลต่อ
วัฒนธรรม ทฤษฎีน้ีใช้ได้ในการศึกษามนุษย์ท่ีอาศัยอยู่ในสังคมสมัยใหม่ โดยศึกษาลักษณะประจ�ำชาติ
(National character) ของสังคมตา่ งๆ เช่น สังคมไทย สังคมญี่ปนุ่ สงั คมอเมรกิ ัน ซ่ึงเราจะพบว่าต่างก็
มลี กั ษณะประจ�ำชาตซิ งึ่ สะทอ้ นผา่ นบคุ ลกิ ภาพของคนและวฒั นธรรมของชาตนิ นั้ ๆ ประเดน็ ทนี่ า่ สนใจกค็ อื
บคุ ลกิ ภาพทม่ี คี ณุ คา่ ในสงั คมหนง่ึ อาจกลายเปน็ ความผดิ ปกตหิ รอื เปน็ พฤตกิ รรมเบยี่ งเบนในอกี สงั คมหนงึ่
กไ็ ด้

       ดังที่ เอ็ดเวิร์ด ซาเปียร์ (Edward Sapir) กล่าวว่าบุคลิกภาพคือหลักฐานของการมีวัฒนธรรม
เน่ืองจากวัฒนธรรมไมใ่ ชว่ ัตถุส�ำเรจ็ รูปท่มี อี ยู่ได้ดว้ ยตัวเอง แตม่ ีสว่ นประกอบของพฤติกรรมและความคดิ
ร่วมอยู่ด้วย ซาเปียร์อธิบายว่าถ้าเราต้องการท�ำความเข้าใจวัฒนธรรม เราก็ต้องศึกษาบุคลิกภาพให้มาก
ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการพูดจา กิริยาท่าทาง การสืบเผ่าพันธุ์ และความเช่ือทางศาสนา ส่ิงเหล่านี้อาจเป็น
สญั ลกั ษณท์ บ่ี ่งบอกความหมายเกีย่ วกบั สถานะของบคุ คล ซ่ึง อบั รัม คารด์ ิเนอร์ (Abram Kardiner) นำ�
แนวคดิ นไี้ ปอธบิ ายวฒั นธรรมวา่ เปน็ รอ่ งรอยน�ำไปสกู่ ารทำ� ความเขา้ ใจมนษุ ย์ ดงั เชน่ สถาบนั ปฐมภมู อิ ยา่ ง
สถาบันครอบครัวซ่ึงสร้างแบบแผนการจัดระเบียบและการด�ำรงชีพทางสังคมท่ีเร่ิมต้นต้ังแต่วัยเด็ก และ
ประสบการณว์ ยั เดก็ จะสรา้ งโครงสรา้ งของบคุ ลกิ ภาพทม่ี ลี กั ษณะเฉพาะตวั ของปจั เจกบคุ คล ตอ่ มาจะพฒั นา
ไปสูส่ ถาบนั ทุตยิ ภมู ิ เชน่ การสร้างต�ำนาน ความเชื่อ ศาสนา และการปกครอง เปน็ ตน้

       โดยสรุปแล้วเน้ือหาสาระของทฤษฎีวัฒนธรรมและบุคลิกภาพน้ีให้ความส�ำคัญกับความสัมพันธ์
ระหวา่ งวฒั นธรรมกบั บคุ ลกิ ภาพ เพราะเชอ่ื วา่ วฒั นธรรมจะเปน็ เครอื่ งมอื ชว่ ยในการปรบั ตวั ของปจั เจกบคุ คล
ขณะเดียวกันบุคลกิ ภาพกอ็ าจเป็นเครือ่ งชว่ ยให้วัฒนธรรมและสังคมดำ� รงอยไู่ ด้
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50