Page 48 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 48

11-36 การบรหิ ารงานภาพยนตร์
ขายตว๋ั และเดนิ เกบ็ ตว๋ั นอกจากนน้ั ยงั อาจเพม่ิ เตมิ พนกั งานรบั โทรศพั ทท์ ำ� หนา้ ทต่ี อ้ นรบั ลกู คา้ และใหข้ อ้ มลู
การจอง พนักงานด้านคอมพิวเตอร์ซง่ึ จะดแู ลด้านการจองต๋ัวภาพยนตร์

       ในบางโรงภาพยนตรย์ งั อาจมบี รษิ ทั ยอ่ ยๆ เพอ่ื ดำ� เนนิ กจิ กรรมแทนผจู้ ดั การโรงภาพยนตรไ์ ดด้ ว้ ย
เช่น การตั้งบริษัทวิจัยเพื่อจะหาข้อมูลให้กับโรงภาพยนตร์ การต้ังบริษัทรับผิดชอบดูแลการขายโฆษณา
(บงกช เบญจาทิกุล, 2546: 66) การจัดต้ังโปรดักชั่นเฮ้าส์ (Production House) ภายในเพื่อผลิตส่ือ
โฆษณา (ธนภัทร สุโสภติ . 2542)

       เรดสโตน (Redstone, 2006: 392) ตั้งข้อสังเกตว่า การบริหารพนักงานอาจไม่ได้หมายถึง
พนกั งานประจำ� แตอ่ ยา่ งเดยี ว แตอ่ าจหมายรวมถงึ พนกั งานจา้ งชวั่ คราว (part-time) ซงึ่ อาจเปน็ ตำ� แหนง่
ที่ไม่ได้มีความส�ำคัญเท่าไรนัก ดังน้ันการจ่ายเงินค่าจ้างจึงมีได้ทั้งกรณีของเงินเดือนประจ�ำและเงินราย
ชัว่ โมง

       วรรณลกั ษณ์ เหล่าทวที รัพย์ (2545) ยงั ชใ้ี หเ้ หน็ แนวทางการบรหิ ารจดั การพนกั งานโดยเฉพาะ
โรงภาพยนตรข์ นาดใหญใ่ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ กลา่ วคอื ใชค้ นนอ้ ยและมคี วามคมุ้ คา่ ทสี่ ดุ และทส่ี ำ� คญั เนอ่ื งจาก
ธุรกิจโรงภาพยนตร์จะเกี่ยวข้องกับการให้บริการและการฉายภาพยนตร์เป็นรอบตลอดวัน จึงจ�ำเป็นต้อง
บริหารจัดการพนักงานให้ท�ำงานได้คุ้มค่า ไม่เหนื่อยมากเกินไป และท่ีส�ำคัญคือประหยัด ในกรณีของ
โรงภาพยนตรข์ นาดเลก็ อาจไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งพจิ ารณาเทา่ ไรนกั เพราะการดำ� เนนิ การอาจใชค้ นไมก่ คี่ น (ทศพร
โขมพัตร, 2544) แต่ส�ำหรับกรณีโรงภาพยนตร์ขนาดใหญ่ วรรณลักษณ์ระบุว่า จ�ำเป็นต้องมีการบริหาร
จัดการ

       หลักการในเบ้ืองต้น คือ ต้องใช้พนักงานประจ�ำให้ครบก่อนแล้วจึงจัดจ้างพนักงานช่ัวคราว โดย
ปกตพิ นกั งานประจำ� จะท�ำงาน 8 ชว่ั โมง ท�ำงานติดตอ่ กันไมเ่ กิน 4 ชว่ั โมง การบรหิ ารจดั การควรเปลย่ี น
พนักงานสลับกัน เพื่อมิให้เกิดความเหน่ือย เบื่อ และล้า กล่าวคือ สลับหน้าที่ระหว่างพนักงานขายตั๋ว
ขายน�ำ้  ตรวจตวั๋ หรอื เดนิ ต๋ัว เมื่อทำ� งานครบ 4 ช่วั โมงก็จะพกั 1 ช่วั โมง และท�ำงานต่อ พนักงานประจำ�
จะมวี นั หยดุ 1 วันในสปั ดาห์ โดยห้ามหยุดวันเสาร์และอาทิตย์

       ส่วนพนักงานชั่วคราวจะท�ำงานติดต่อกัน 5 ชั่วโมงต่อวัน ไม่มีการพักระหว่างการท�ำงาน ทั้งน้ี
ยงั ตอ้ งพจิ ารณาถงึ ชว่ งเวลาทมี่ ผี เู้ ขา้ ชมภาพยนตรโ์ ดยในแตล่ ะชว่ งจะไมเ่ ทา่ กนั โดยวดั ไดเ้ ปน็ 5 ระดบั คอื
ตำ่�  ปานกลาง สูง สูงมาก และสงู มากท่ีสดุ ดงั นัน้ จงึ ตอ้ งจัดปริมาณคนให้เพียงพอในแต่ละชว่ งเพือ่ ใหก้ าร
ท�ำงานบริการมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด ประหยัดคนและเงิน แนวทางก็คือ การจัดระบบการท�ำงานให้
พนักงานแต่ละคนสลับเวลาการท�ำงานเป็นกะ ทั้งวันหยุด เวลาเข้าและเลิกงาน รวมถึงการสลับประเภท
งาน ซง่ึ ก็จะช่วยลดงบประมาณค่าใช้จา่ ย

       ในอกี ดา้ นหนงึ่ จากการเตบิ โตของระบบเทคโนโลยสี มยั ใหม่ เชน่ การพฒั นาการฉายระบบดจิ ทิ ลั
การวางระบบจองตว๋ั ทางโทรศพั ท์ ยงั ชว่ ยท�ำใหล้ ดปริมาณบคุ ลากรลงได้เชน่ กนั

       เช่นเดียวกันกับกรณีของโรงภาพยนตร์ช้ันสอง ทศพร โขมพัตร (2544) ระบุว่า พนักงานโรง
ภาพยนตร์ชั้นสองมีปริมาณน้อยมาก เหตุผลส�ำคัญคือ การประหยัดค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน ดังนั้น
บคุ ลากรคนหนง่ึ อาจทำ� หนา้ ทท่ี งั้ ขายตวั๋ เดนิ ตวั๋ ทำ� ความสะอาด และซอ่ มแซมวสั ดอุ ปุ กรณใ์ นโรงภาพยนตร์
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53