Page 34 - ปัญหาการพัฒนาชนบทไทย
P. 34

6-24 ปัญหาการพัฒนาชนบทไทย

ถึงปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท ส่วนการตัดถนนเชื่อมต่อระหว่างประเทศ เช่น การสร้างจุดเชื่อมต่อใหม่ผ่านเส้น
ทางระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (East-West Corridor) หรือแม้แต่แนวทางการสร้างรถไฟความเร็ว
สูงเชื่อมเส้นทางกับต่างประเทศ จะมีผลต่อการหดตัวของชนบท จากที่พื้นที่ในเส้นทางดังกล่าวจะถูกกว้านซื้อโดย
นักลงทุนและจะถูกพัฒนาให้กลายไปเป็นเมือง

  กจิ กรรม 6.2.1
         1. 	 จงระบตุ ัวอยา่ งสภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกิจระดับโลกทีส่ ่งผลต่อการพฒั นาชนบทไทย
         2. 	 จงระบตุ ัวอยา่ งสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกจิ ระดบั โลกท่สี ่งผลต่อการพฒั นาชนบทไทย

  แนวตอบกิจกรรม 6.2.1
         1. 	 ตัวอย่างสภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกิจระดบั โลกทีส่ ง่ ผลตอ่ การพฒั นาชนบทไทย คือ ความผันผวน

  ของเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงของราคาน้ํามันโลก และการขยายตัวของระบบทุนนิยมและ
  บริโภคนยิ มภายใตโ้ ลกาภวิ ัตน์และบรู พาภิวัตน์

         2. 	 ตวั อยา่ งสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจระดับภมู ภิ าคทีส่ ่งผลต่อการพฒั นาชนบทไทย คือ การค้าเสรี
  และการสรา้ งความร่วมมือระดบั ภูมิภาค อาทิ การวางแผนเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เรื่องท่ี 6.2.2
สภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกจิ ในระดับประเทศ

       ประเทศไทยใช้ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม โดยส่งเสริมการค้า การลงทุน และการเกษตรในฐานะเป็น
วัตถุดิบของภาคอุตสาหกรรมและสินค้าที่มุ่งผลิตเพื่อการส่งออก แนวทางดังกล่าวทำ�ให้เกิดการเติบโตของธุรกิจ
การเกษตร รวมถึง อุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ทว่า ในทางกลับกันทำ�ให้มูลค่าผลผลิตทางการเกษตร
ในชนบทตํ่ากว่ามูลค่าสินค้าอื่น ๆ ที่อยู่นอกภาคการเกษตร กล่าวอีกอย่างคือเกิดความเสียเปรียบเชิงเปรียบเทียบของ
ผลผลิตทางการเกษตรเมื่อเทียบกับภาคอุตสาหกรรม จนกระทบต่อช่องว่างรายได้ระหว่างคนชนบทที่ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมกบั ผูป้ ระกอบอาชพี อืน่ ซึง่ สว่ นใหญอ่ ยูใ่ นเมอื ง อกี ทัง้ การผกู ขาดโดยบรรษทั อาหารขนาดใหญใ่ นประเทศไม่
กีแ่ หง่ ยงั ท�ำ ใหเ้ กษตรกรถกู ควบคมุ และเอารดั เอาเปรยี บทัง้ ในดา้ นปจั จยั การผลติ และตลาดผลผลติ โดยบรรษทั เหลา่ นัน้

       ทั้งนี้ การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศผ่านแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในช่วงแรก อาทิ ในช่วง
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ ฯ ฉบบั ที่ 4 ไดม้ สี ว่ นชว่ ยในการขยายผลผลติ ดา้ นการเกษตรของประเทศไปพอสมควร โดยเฉพาะ
อยา่ งยิง่ การพฒั นาแหลง่ นํา้ และขยายระบบชลประทานถงึ 16 ลา้ นไร่ และการขยายโครงขา่ ยถนนจากแหลง่ ผลติ สูต่ ลาด
ยาวถึง 60,000 กิโลเมตรในเขตเกษตรทั่วประเทศ ทว่า ในช่วงหลังได้สร้างการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
โดยภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการมีบทบาทแทนที่ภาคเกษตรดังที่ได้กล่าวไปแล้ว จนในที่สุดได้สร้างสภาวะการ
พฒั นาแบบไมส่ มดลุ ซึง่ สรา้ งความไมเ่ ปน็ ธรรมในการกระจายรายได้ โดยเฉพาะการสรา้ งชอ่ งวา่ งระหวา่ งเมอื งกบั ชนบท
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39