Page 63 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 63

เคมีอินทรีย์ 3-51

       นอกจากน​ ี้ ไฮโดรคาร์บอนเ​รซิน (hydrocarbon resin) ที่​ใช้​ในห​ มึกพ​ ิมพ์​ยัง​เป็นพ​ อล​ ิเ​มอ​ ร์ข​ องส​ ารประกอบ​
ไฮโดรคาร์บอน​ชนิดไ​ม่​อิ่ม​ตัว​ที่​มีน​ ํ้าห​ นัก​โมเลกุล​ตํ่า อาทิ อี​ทีน โพ​รพี​น บิวท​ ีน ที่ไ​ด้​จาก​การก​ลั่น​นํ้ามันด​ ิบ

กิจกรรม 3.2.2                                                                                                      C10H20
       1. 	 สารประกอบแ​ อล​ แิ ฟต​ กิ ไ​ฮโดรคารบ์ อนช​ นดิ ไ​มอ​่ ม่ิ ต​ วั ส​ ารห​ นง่ึ  มส​ี ตู รโ​มเลกลุ เ​ปน็                            สารน​ เ​ี้ ปน็
แอล​คนี ห​ รอื ​แอล​ไคน์
         2. 	 ปฏิกิริยา​เคมี​ที่​สำ�คัญ​ของ​แอล​ไคน์ เป็น​ปฏิกิริยา​ชนิด​ใด​บ้าง และ​ปฏิกิริยา​เกิด​ข้ึน​ที่​ส่วน​ใด​ของ​
โมเลกุล

แนวต​ อบก​ จิ กรรม 3.2.2
         1.  	  ปC1ฏ0ิกHิร2ิย0าเ​เปค็นมส​ี​ทูต่ี​สรำ�โ​คมัญเล​ขกอลุ ง​ข​แอองล​แ​ไอคลน​ค์ ีนเป็น​ปฏิกิริยา​การ​เติม​และ​ปฏิกิริยา​ออกซิเดชัน
         2.  	                                                                                                                               ปฏิกิริยา​เกิด​ที่​
ตำ�แหน่งพ​ ันธะ​สาม​ของอ​ ะตอม​คารบ์ อน

เรื่องท​ ่ี 3.2.3
สารประกอบ​แอโ​รแ​ มต​ ิกไ​ ฮโดรคารบ์ อน

       สารประกอบ​แอ​โร​แม​ติก​ไฮโดรคาร์บอน เป็น​สารประกอบ​ไฮโดรคาร์บอน​ชนิด​ไม่​อิ่ม​ตัว และ​มี​ความ​เสถียร​
มากก​ ว่าแ​ อล​คีน​และแ​ อลไ​คน์

1. 	ลกั ษณะ​ส�ำ คัญข​ อง​สารประกอบแ​ อโ​รแ​ ม​ตกิ ไ​ ฮโดรคาร์บอน

       สารประกอบแ​ อโ​รแ​ มต​ ิกไ​ฮโดรคาร์บอน เป็นส​ ารท​ ี่ม​ คี​ าร์บอนแ​ ละไ​ฮโดรเจนเ​ป็นอ​ งคป์​ ระกอบม​ ีโ​ครงสร้างเ​ป็น​
ววงง​หเมลื่อายเ​ปว​1็นง.ไ​ว​1ดง		เ​้ โดใคนี่ยร​ทวงี่​นท​สี้จ​ี่ไ​รมะ้างพ​่ม​ขีห​ิจอามรงู่ส​ณ​เบาขาน​เาบ​ซมนีนีส​​ซูตีนจราท​(กbั่ว​กeไาnปรzเ​​ทปeดn็นeลC,อnCงH​พ6Hnบส6​ว)า่ารเปปเบ็นรนต​ะก​ซัวออีนบย​มแ​่าี​โงอคข​โ​รอรงแ​งสส​มราต​้ารงิกป​จไ​รับฮะโ​กกดันอร​เบคป​แา็นรอ​ว์บโ​ งรอ​โแ​นดมยอต​ า​มิกจี​จ​ไม​ฮำ�ีโ​นโคดวรรนงคส​คาราร้าร์บง์บเ​อปอน็นน​
6 อะตอม และ​พันธะร​ ะหว่างอ​ ะตอม​ของ​คาร์บอนท​ ั้ง 6 อะตอม​นี้เ​ป็นล​ ักษณะพ​ ันธะ​เดี่ยวแ​ ละ​พันธะ​คู่ส​ ลับ​กัน​เรียก​ว่า
พันธะ​คอน​จูเ​กต (conjugated bond) และพ​ ันธะ​ระหว่างอ​ ะตอม​ของค​ าร์บอนท​ ั้ง 6 อะตอมน​ ี้​ยัง​มี​ระยะ​ห่างเ​ท่าก​ ัน​อีก​
ด้วย ซึ่ง​แตกต​ ่างไ​ป​จากห​ ลัก​การท​ ั่วไปท​ ี่​พันธะเ​ดี่ยว​ควร​จะต​ ้องม​ ี​ความย​ าวพ​ ันธะ​มากกว่าพ​ ันธะค​ ู่

       นักว​ ทิ ยาศาสตรไ์​ดอ้​ ธิบายว​ า่ ตำ�แหน่งพ​ นั ธะค​ ูภ่​ ายในเ​บนซ​ ีนไ​มไ่​ดม้​ ลี​ ักษณะเ​ป็นต​ ำ�แหน่งท​ ีแ่​ น่นอนต​ ายตัว แต​่
เปลี่ยนต​ ำ�แหน่ง​ภายใน​ของ​วงเ​บน​ซีนไ​ด้ อย่างไรก​ ็​ดี​ไม่​ว่า​ตำ�แหน่ง​พันธะ​คู่​นี้​จะเ​ปลี่ยน​ไป​อย่างไรก​ ็ตาม พันธะ​ระหว่าง​
คาร์บอน​ทั้ง​หก​อะตอม​ใน​วง​เบน​ซีน​ก็​จะ​เป็น​พันธะ​คอน​จู​เกต จึง​อาจ​เขียน​โครงสร้าง​ของ​เบน​ซีน​ได้​เป็น​โครงสร้าง
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68