Page 65 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 65
เคมีอินทรีย์ 3-53
1.3 สมบัติทางกายภาพของสารประกอบแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน เบนซีนและอนุพันธ์ของเบนซีน
มีจุดหลอมเหลวสูงกว่าสารประกอบแอลิแฟติกไฮโดรคาร์บอนที่มีจำ�นวนคาร์บอนเท่ากัน ตัวอย่างเช่น เบนซีน
หลอมเหลวท ี่อ ุณหภูมิ 6 องศาเซลเซียส ขณะท ี่เฮกเซนห ลอมเหลวท ี่อุณหภูมิ -95 องศาเซลเซียส
จุดเดือดข องอ นุพันธข์ องเบนซ ีนม คี วามส ัมพันธก์ ับไดโพลโมเมนตห์ รือค วามเป็นข ั้วข องโมเลกุลข องส าร และ
ไดโพลโมเมนต์ของสารขึ้นอ ยู่ก ับต ำ�แหน่งของห มู่ท ี่เกาะบนว งเบนซ ีน ตัวอย่างเช่น สารไดค ลอโรเบนซีน (dichlorben-
zene) มีห มู่คลอรีน (Cl) 2 หมู่เกาะท ี่ว งเบนซ ีน ซึ่งอ าจมีโครงสร้างท ี่แ ตกต่างก ันได้ 3 แบบ โดยแ ต่ละแบบมีจุดเดือด
แตกต ่างก ันด ังนี้
1,2-ไดค ลอโรเบนซีน 1,3-ไดค ลอโรเบนซีน 1,4-ไดค ลอโรเบนซีน
(1,2-dichlorobenzene) (1,3-dichlorobenzene) (1,4-dichlorobenzene)
จุดเดือด 181๐C จุดเดือด 173๐C จุดเดือด 170๐C
สาร 1,2-ไดค ลอโรเบนซีน มีค ่าไดโพลโมเมนต์สูงท ี่สุด จึงม ีจุดเดือดส ูงที่สุด ส่วนส าร 1,4-ไดค ลอโรเบนซ ีน
มีค่าไดโพลโมเมนต์เป็นศูนย์ มีจุดเดือดตํ่าที่สุด
เบนซ ีนแ ละส ารประกอบแ อโรแ มต ิกไฮโดรคาร์บอน มีค วามห นาแ น่นส ูงก ว่าส ารท ี่ไม่เป็นแ อโรแ มต ิกเล็กน ้อย
แต่มีความแน่นน้อยกว่านํ้า ยกเว้นสารแอโรแมติกที่ไฮโดรเจนถูกแทนที่ด้วยแฮโลเจนจะมีความหนาแน่นสูงกว่านํ้า
สารประกอบแ อโรแ มต ิกไฮโดรคาร์บอนไม่ละลายในนํ้า แต่ถ้าหมู่ส าขาของว งเบนซ ีนม ีขั้ว จึงจ ะละลายนํ้าได้ ตัวอย่าง
หมู่สาขาที่มีขั้ว ได้แก่ หมู่ไฮดรอ กซิล ( OH) ในฟ ีน อล (phenol) และห มู่คาร์บ อกซ ิล ( COOH) ในก รดเบนโซอิก
(benzoic acid) ฟีนอลและกรดเบนโซอิกจ ึงส ามารถละลายในนํ้าได้
ฟีนอล กรดเบนโซอิก