Page 60 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 60
3-48 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพ ิมพ์แ ละบ รรจุภัณฑ์
ตัวอย่างก ารเรียกช ื่อแ อลคีน พิจารณาได้จากตารางที่ 3.8
ตารางท่ี 3.8 ตวั อยา่ งการเรยี กช อ่ื แ อลคีน
สตู รทว่ั ไป สตู รโครงสร้าง ชอื่ ตามระบบ IUPAC ชื่อสามัญ
C3H6 CH3 CH CH2 โพรพีน (propene) โพรพิลีน (propylene)
C4H8 CH3 CH2 CH CH2 1-บิวทีน (1-butene) บิวทิลีน (butylenes)
1,3-บิวทาไดอีน
C4H6 CH2 CH CH CH2 (1,3-butadiene) บิวทาไดอีน (butadiene)
C4H8 CCH3 CH3 2-เมทิล-1-โพรพีน ไอโซบิวทิลีน
CH2
(2-methyl-1-propene) (isobutylene)
C7H14 CH3CH2 CH CH2 CH CH2 4-เมทิล-1-เฮกซีน -
CH3
(4-methyl-1-hexene)
1.2.2 การเรยี กช อ่ื แ อลไคน์ แอลไคนม์ พี ันธะส าม การเรียกช ื่อแ อลไคนใ์ชห้ ลักเดียวก ับก ารเรียกช ื่อแ อล
คีน แต่ใช้คำ�ลงท้ายเป็นไอน์ (-yne) ดังต ัวอย่างในต ารางที่ 3.9
ตารางท ี่ 3.9 ตวั อยา่ งการเรียกช ่อื แอลไคน์
สูตรท่วั ไป สูตรโครงสรา้ ง ช่ือตามระบบ IUPAC ชือ่ สามัญ
เอไทน์ (ethyne) อะเซทิลีน (acetylene)
C2H2 HC CH
2-บิวไทน์ (2-butyne) ไดเมทิลอะเซทิลีน
C4H6 CH3 C C CH3 (dimethylacetylene)
3-เมทิล-1-เพนไทน์
C6H10 HC C CH CH2 CH3 (3-methyl-1-pentyne) -
CH3
ในกรณีที่แอลค ีนหรือแ อลไคน์ เป็นหมู่สาขาที่มาเกาะกับสายโซ่หลักหรือโครงสร้างห ลักอ ื่น การเรียก
ชื่อหมู่จะเป็นดังนี้
หมขู่ องแ อลค นี มชี ือ่ ว า่ แ อลค นี ลี (alkenyl) ตวั อยา่ งเชน่ เอท นี ลี (ethenyl) โพรท นี ลิ (propenyl) เปน็ ตน้
ส่วนหมู่ข องแอลไคน์มีชื่อว ่าแ อลไคนีล (alkynyl) ตัวอย่างเช่น เอไทน ีล (ethynyl) บิวไทน ีล (butynyl) เป็นต้น