Page 56 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 56
3-44 วิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยีก ารพิมพ์แ ละบ รรจุภ ัณฑ์
กิจกรรม 3.2.1
1. เพราะเหตใุ ด แอลเคนจึงไมเ่ กิดปฏิกริ ิยาก ารเตมิ
2. ให้พิจารณาส มบัติทางก ายภาพข องไซโคลแ อลเคน
ไซโคลแอลเคน สูตรโมเลกุล จุดเดอื ด (oC) จุดหลอมเหลว (oC) ความหนาแน่น
กรัม/ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร(g/cm3)
ไซโคลโพรเพน CCCCCC846357HHHHHH1161182460 -33 -128
ไซโคลบิวเทน -12 -50 0.72
ไซโคลเพนเทน 49 -94 0.75
ไซโคลเฮกเซน 81 7 0.74
ไซโคลเฮปเทน 118 -12 0.78
ไซโคลออกเทน 138 13 0.81
0.83
จากตารางข้อมูลข้างต้น ให้สรุปความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุลของไซโคลแอลเคน กับสมบัติต่อไปน้ี
จุดหลอมเหลวจดุ เดอื ด และค วามห นาแ น่น
แนวต อบกิจกรรม 3.2.1
1. แอลเคนเปน็ ไฮโดรคารบ์ อนท อ่ี ม่ิ ต วั ด ว้ ยไฮโดรเจน จงึ ไมว่ อ่ งไวในก ารท ำ�ป ฏกิ ริ ยิ าโดยเฉพาะป ฏกิ ริ ยิ า
การเติม
2. จากตาราง จะเห็นว่าจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นของไซโคลแอลเคนแปรตาม
น้ําหนักโมเลกุลหรือจำ�นวนอะตอมของคาร์บอน เม่ือขนาดโมเลกุลเพ่ิมขึ้น จุดเดือด จุดหลอมเหลว และความ
หนาแ น่นจะเพม่ิ ข นึ้
แทล่ีมะีขไนซาโดคกใลหรเฮณญปขี่ขเทอ้ึนงนจคุด(วCหร7มลHีจอ1ุดม4)หเหมลลีจอวดุ มหพเหลบลอววม่าสเหไูงซลขโวึ้นคตลาํ่ทเกพ่ีเปวน่า็นเไทเซชนโ่นค(นลCเ้ีอฮ5ธHกิบเ1ซ0า)นยไมด(จี C้วดุ 6่าหHสล1ำ�2อห)มรทเับหั้งสๆลาวรทตปี่ต่ํารกาะมวกหา่ ไอลซบกั โไคเกซลณโบคฑิวลเ์แแทลอนว้ลโเ(มคCเน4ลHทก8่ีมุล)ี
แจำข�น็งแวนรงอมะาตกอกมวข่าไอซงโคคาลร์บแออลนเเคปน็นทเลี่มขีจคำ�นู่ เชวน่นอCะ4ตHอ8ม, ขCอ6งHค1า2รห์บรอือนเCป8็นHเ1ล6ขเคปี่ ็นกตาร้นจัดจตะัวมทีกี่เาปร็นจัดโคตรัวงเปส็นร้าโงคแรขงส็งแรร้างงนที่้ี
จึงจำ�เป็นจะต้องใช้พลังงานความร้อนที่สูงกว่าเพ่ือทำ�ให้เกิดการหลอมเหลว จึงมีจุดหลอมเหลวสูงกว่า ดังน้ัน
จุดหลอมเหลวของไซโคลเพนเทนและไซโคลเฮปเทน ซึ่งมีจำ�นวนคาร์บอนอะตอมเป็นเลขค่ี มีโครงสร้างที่
แข็งแรงน้อยกว่า จึงลดต่ําอย่างไม่เรียงตามลำ�ดับตามจำ�นวนอะตอมของคาร์บอนที่เพ่ิมข้ึนดังเช่น จุดเดือดหรือ
ความหนาแนน่