Page 54 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 54
3-42 วิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยีการพ ิมพ์และบ รรจุภัณฑ์
สำ�หรับการเรียกชื่อไซโคลแอลเคน เรียกตามจำ�นวนคาร์บอนในวงแล้วใช้คำ�นำ�หน้าว่า ไซโคล (cyclo) เช่น
ไซโคลแ อลเคนที่ม ีคาร์บอนในว ง 3 อะตอม เรียกว่า ไซโคลโพรเพน
การเรียกช ื่อหม ุ่แอลคิล (R ) ที่ต ่อกับโซ่ตรง ให้เรียกต ามช ื่อห ลักของแ อลเคน แต่เปลี่ยนคำ�ลงท้ายจ ากเอน
(-ane) เปแ็นออลิลเค(-นyทl)ี่โคเชร่นงสหรม้าู่งCม Hีห ม3 ู่ส ามขาาจเปาก็นมห ีเมทู่แนอจลึงคเริลียจกะหตม้อู่นงี้วบ ่าอเกมตทำ�ิลแห(mน่งeทthี่ห yมl)ู่ส าขาเกาะก ับโครงสร้างห ลักด ้วย ให้
นักศึกษาทบทวนการเรียกชื่อส ารประกอบอินทรีย์ที่มีห มู่ส าขาในตอนที่ 3.1
1.3 สมบัติทางกายภาพของสารประกอบแอลิแฟติกไฮโดรคาร์บอนชนิดอิ่มตัว โมเลกุลของสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนทั้งหมดจะไม่มีขั้ว เพราะคาร์บอนและไฮโดรเจนมีค่าอิเล็กโทรเนกาทิวิตีใกล้เคียงกัน การที่โมเลกุล
ไม่มีขั้วมีผลต่อจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารกลุ่มนี้ กล่าวคือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนมีจุดเดือดและ
จุดหลอมเหลวตํ่าเมื่อเปรียบเทียบกับสารประกอบคาร์บอนประเภทอื่นที่มีนํ้าหนักโมเลกุลใกล้เคียงกัน นอกจากนี้
จุดเดือดของสารจะเพิ่มขึ้นตามจำ�นวนคาร์บอนในโมเลกุล เนื่องจากโมเลกุลมีขนาดใหญ่ขึ้นจะมีจำ�นวนอิเล็กตรอน
มาก แรงแ วนเดอ ร์ว าลส์ระหว่างโมเลกุลม ีม ากขึ้น
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่ละลายนํ้า แต่ละลายได้ด ีในสารอ ินทรีย์ที่เป็นต ัวล ะลาย (solvent) ที่โมเลกุล
ไม่มีข ั้วเหสมาือรนปกระันกเอชบ่นแเอบลนิแซฟีนต(ิกbไeฮnโzดeรnคeา,รC์บ6อHน6ช)นคิดารอ์บิ่มอตนัวเทที่มท ีจรำ�ะนควลนอคไรารด์บ์ (อcนarb1o-4ntอeะtrตaอcมhloจrะiมdีeส,ถCานCะl4เป) ็นก๊าซที่มี
อุณหภูมิปกติ เมื่อจำ�นวนค าร์บอนเพิ่มมากข ึ้นจ ะม ีส ถานะเป็นของเหลวแ ละของแข็งตามล ำ�ดับ
2. ปฏิกิริยาเคมีข องส ารประกอบแ อล แิ ฟต กิ ไฮโดรคารบ์ อนช นดิ อมิ่ ตัว
สารประกอบแ อลิแฟต ิกไฮโดรคาร์บอนช นิดอ ิ่มตัว เป็นส ารท ี่เฉื่อยหรือไม่ว ่องไวต่อการเกิดป ฏิกิริยาเคมี ทั้ง
แอลเคนแ ละไซโคลแ อลเคนไมท่ ำ�ปฏิกิริยาก ับก รด เบส หรือส ารท ีเ่ป็นต ัวอ อกซ ไิดส์ แตส่ ามารถเกิดป ฏิกิริยาก ารแ ทนที่
ด้วยแฮโลเจนได้ เมื่อม ีความร ้อนห รือแ สง และเกิดป ฏิกิริยาก ารสันดาปได้
2.1 ปฏกิ ริ ยิ าการแ ทนที่ด ว้ ยแ ฮโลเจน แอลเคนและไซโคลแอลเคน (RH) ทำ�ปฏิกิริยากับแฮโลเจน (X) เมื่อมี
แสงส ว่าง (hν) หรือค วามร ้อน () แฮโลเจนจะเข้าแทนที่ไฮโดรเจนในแ อลเคนหรือไซโคลแอลเคนด ังสมการ
ตัวอย่างเช่น มีเทน (CH4) ทำ�ปฏิกิริยากับคลอรีน (Cl2) และไซโคลเพนเทน ( ) ทำ�ปฏิกิริยากับโบรมีน
(Br2)