Page 20 - ประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษ
P. 20
13-10 ประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษ
อนญุ าตเลน่ อ ะไรด ว้ ยน ดิ น งึ ไดไ้ หม โดยบ อกเขาว า่ มภี าษาไทยท ฟี่ งั ย าก พดู ย ากอ ยู่ 3-4 ตวั คอื มวย (Boxing),
หมวย (Chinese girl), สวย (beautiful), ซวย (unlucky) แล้วผมก็ให้นาย Carlton แปลภาษาไทย 3-4
ประโยค ต่อไปนี้ สลับไปสลับมา คือ หมวยสวยมาก - หมวยซวยมาก - มวยสวยมาก - และมวยซวยมาก
ถามไป 2-3 ทีเท่านั้นแ หละค รับ Mr. Carlton ใบ้รับประทานเลยละค รับ นี่ข นาดเก่ง ๆ กำ�ลังจ ะได้ส าวไทยไป
เป็นเมียนะ แต่ที่ผมต้องการส รุปจากน ิทานเรื่องนี้ก็คือว่า ต่อให้พูดไม่ค่อยร ู้เรื่อง ก็ยังได้เรื่อง ขอให้ขยันพูด
หน่อยแล้วก ันในก รณีนี้คือ ได้เมีย ฉะนั้น ภาษาอ ังกฤษก็ไม่ได้น่ากลัวอะไรน ักหนา
การใช้ภาษาผิด ๆ ถูก ๆ นี้ เกิดกับทุกคนที่เรียนรู้ภาษาของคนอื่น มีอยู่ครั้งนึง ผมนั่งเครื่องการบินไทยจาก
กรุงเทพฯ ไปโตเกียว เขาจ ้างสาวญี่ปุ่นเป็นแ อร์โฮสเตส คงก ะจ ะให้เสิร์ฟน ักท ่องเที่ยวช าวญ ี่ปุ่นที่มาเที่ยวเมือง
ไทย ขณะที่เธอกำ�ลังเสิร์ฟอ าหารแ ละเครื่องดื่ม 2-3 แถว ก่อนที่จ ะถ ึงที่น ั่งของผ ม ผมได้ยินเธอถ ามผู้โดยสาร
เป็นค ำ�ไทยส ำ�เนียงญ ี่ปุ่นว ่า “เอาก าแฟไหมค ะ“ ผมน ึกในใจว ่า trainer ของเธอ น่าจะจ ับเธอไปอบรมซะใหม่
เพราะคำ�ว่า “เอา” ใช้ควบก ับค ำ�ว่า “กาแฟ” ไม่ค ่อยจ ะส ุภาพนัก แต่พ อเธอมาถ ึงผ ม เธอต ัดค ำ�หลังอ อก แล้ว
ถามสั้น ๆ ว่า “เอาไหมค ะ” และเพื่อให้ภ าษามีค วามส อดคล้องก ลมกลืนกัน ผมก ็เลยต อบเธอ ว่า “เอาครับ”
แล้วก ็ได้เอากาแฟอร่อย ๆ มากินห นึ่งแก้ว
ผมอยากจะสรุปว ่า เมื่อมีการใช้ภาษา ก็ต้องม ีการใช้ผิด ๆ ถูก ๆ ปน ๆ กันไปเป็นธ รรมดา ซึ่งส ำ�หรับผมแ ล้ว
ถือเป็นค วามเพลิดเพลินอ ย่างหนึ่ง อีกค รั้งน ึง ผมไปฮานอย ถึงม ื้อกลางว ัน แวะเข้าร ้านอ าหารข้างทาง ทั้งร ้าน
ไม่มีใครพ ูดภ าษาอ ังกฤษไดแ้ ม้แตค่ นเดียว ถามห าเมนกู ม็ แี ตภ่ าษาเวียดนาม ด้วยเหตทุ ีผ่ มเป็นค นก ินย าก เลย
ไม่อ ยากส ั่งอะไรส ุ่มส ี่สุ่มห้า กะจะกินข ้าวร าดไข่เจียวเท่านั้นแ หละครับ แต่ค ุณเอ๊ย เป็นม ื้อข้าวไข่เจียวท ี่สั่งได้
ยากทุรกันดารที่สุด เพราะยังไง ๆ พี่แกก็ไม่ยอมรู้เรื่อง แม้ว่าจะใช้ภาษามือ ขยับเป็นวงรอบ 360 องศาแล้ว
ก็ตาม โชคด ีครับ ผมเหลือบไปเห็นเมนูเก่า ๆ เล่มน ึง วางอยู่บ นโต๊ะใกล้ ๆ หยิบม าดู อ๊ะ มีภ าษาอ ังกฤษด้วย
แต่ก็เป็นภ าษาอ ังกฤษที่เขียนต ามคำ�อ่านภาษาเวียดนาม โอ๊ย วันนี้จ ะได้ก ินมั้ยเนี่ยะ แต่เอ๊ะ มีค ำ�ว่า “boiled
rice” ให้เห็น ผมพ ยายามท ีจ่ ะส ั่ง “steamed rice” เพราะอ ยากก ินข ้าวส วย ไม่ใช่ข ้าวต้ม แต่ก อ็ ีหรอบเดิม พูด
ยังไง ๆ ก็ไม่รู้เรื่อง เลยน ึกในใจว ่า เอาวะ “boiled rice” ก็ได้วะ สักเดี๋ยวนึง เขาก็ย กอ าหารมาเสิร์ฟ ปรากฏ
ว่าเป็นข้าวสวยครับ ไม่ใช่เป็นข้าวต้มอย่างที่คิด ผมไม่ได้นึกหงุดหงิดอะไรเลย เพราะอย่างน้อย ก็มีเรื่องเก็บ
มาเล่าให้เพื่อนที่บ้านฟ ังเล่น
มีอีกตัวอย่างหน่ึงที่แสดงว่าโดยทั่วไปแล้ว การเรียนภาษาเป็นเร่ืองที่ “ต้องลองผิดก่อนลองถูก” จะให้ทำ�ถูก
โดยไม่เคยทำ�ผิด มันออกจะอัจฉริยะเกินไปหน่อย และถ้ากลัวเกินไป ไม่กล้าใช้ภาษาเพราะกลัวทำ�ผิด ก็จะ
ไม่มีว ันได้ทำ�อะไร ไม่ว ่าจะถูกหรือผ ิด มันออกจ ะเศร้าไปหน่อยนะช ีวิตแบบนี้ มันคล้ายก ับคำ�พูดท ี่ว่า “อกหัก
ดีก ว่าร ักไม่เป็น “ เอ๊ะนี่มันค นละเรื่องเดียวกันห รือเปล่าน ะเนี่ยะ
หลายว นั ก อ่ นผ มก ลบั ไ ปเยย่ี มแ มท่ ตี่ า่ งจ งั หวดั แม่ผ มม รี ้านข ายข องชำ� มีพม่าม าเป็นล ูกค้าอ ยู่ห ลายค น วันหนึ่ง
มีพม่าคนหนึ่งมาซื้อนํ้าตาลทราย พูดกันไม่รู้เรื่องครับ ต้องหากันอยู่นานทีเดียว กว่าจะเจอถุงนํ้าตาลทรายที่
มิสเตอร์หม่องแกต้องการ พอเจอปุ๊บ แม่ผมถึงกับโพล่งออกมาว่า “อ๋อ ไอ้นี่เอง” วันหลัง มีพม่าอีกคนหนึ่ง
มาซื้อของที่ร้าน แล้วก็พูดกันไม่รู้เรื่องอีก แต่ก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์ให้แม่ผมต้องเหนื่อยเหมือนอีหรอบเดิม
มิสเตอร์ห ม่องค นแ รกก ็เดินเข้าม าในร ้าน แล้วก ็บังเอิญที่ม ิสเตอร์หม่องค นที่สองน ี่ก ็จ ะซ ื้อนํ้าตาลท รายเหมือน