Page 38 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 38

7-28 การศกึ ษาชุมชนเพื่อการวจิ ัยและพัฒนา

ดงั นนั้ จึงค�ำนวณตามสตู รไดด้ ังนี้       120 × 100     =  7.5
                                             1600

            ตัวอย่างท่ี 2 ส�ำรวจความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างเก่ียวกับประโยชน์ของส่ือชุมชน คือ
วารสารพลังชมุ ชน โดยถามความคดิ เห็นกลมุ่ ตัวอยา่ งว่า วารสารพลังชมุ ชนมีประโยชนต์ ่อชวี ติ ประจ�ำวนั
จากจ�ำนวนผตู้ อบแบบสอบถามทง้ั หมด 874 คน

ระดบั ความคดิ เห็น เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ เห็นดว้ ย เฉยๆ ไม่เหน็ ด้วย ไม่เหน็ ด้วยอย่างยิง่
		                                         59	 230 	 340 	 201 	     44

จากตวั อย่างดงั กลา่ ว สามารถน�ำตัวเลขของแต่ละคำ� ตอบมาหาค่ารอ้ ยละ ได้ดงั น้ี
                                           59  × 100
เหน็ ด้วยอย่างยงิ่ 	 รอ้ ยละ	                  874    	  =  	 6.75

เห็นด้วย ร้อยละ 		                         23087×4100	 = 	 26.3

เฉยๆ ร้อยละ		                              34087×4100	 = 	 38.9

ไม่เหน็ ดว้ ย ร้อยละ	                      201 × 100  	  =  	 22.99
                                             874

ไมเ่ หน็ ดว้ ยอยา่ งยิง่ ร้อยละ	           44  × 100  	  =  	 5.03
                                               874

            1.2) การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง หมายถึง สถิติที่ใช้หาตัวแทนของข้อมูลในกลุ่มนั้นๆ
ได้แก่ ค่าเฉล่ยี (mean) หรอื คา่ กลางมธั ยฐาน (median) ฐานนยิ ม (mode) ตวั กลางเรขาคณติ (geo-
metric mean) และตวั กลางฮาร์โมนิก (harmonic mean) 	 แต่ท่ีนิยมมากที่สุด ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ย
หรือ mean

            1.3) การวัดการกระจาย ได้แก่ พสิ ยั (range) ส่วนเบย่ี งเบนควอไทล์ ความเบ่ียงเบนเฉล่ีย
ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (standard deviation) เป็นต้น

            1.4) การวัดสัดส่วน (proportion)
            1.5) การวัดความสัมพันธ์ เช่น สหสัมพันธ์ (correlation) เป็นตน้
       2. 	สถิติอนุมานหรือสถิติเชิงอ้างอิง (Inferential statistics) หรือสถิติอุปนัย (Inductive
statistics) เป็นวิธีการทางสถิติท่ีวิเคราะห์จากกลุ่มตัวอย่าง แต่สามารถน�ำมาอ้างอิงหรือสรุปความไปยัง
ประชากรท้ังหมดได้ ประกอบดว้ ย
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43