Page 39 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 39
การวเิ คราะหข์ ้อมูลการวจิ ัยการสื่อสารชุมชน 7-29
2.1) การประมาณค่าสัดสว่ น
2.2) การวิเคราะหไ์ ค-สแควร์ (Chi-Square analysis)
2.3) การวเิ คราะห์การกระจาย หรือความแปรปรวน (Variance analysis)
2.4) การวิเคราะหเ์ ส้นแสดงความสมั พันธ์ (Regression analysis)
2.5) การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเสน้ และเชิงซอ้ น
ส�ำหรับการวิจัยการส่ือสารชุมชน ดังทไ่ี ด้อธิบายไว้ในตอนตน้ วา่ การวิจยั การส่อื สารชุมชน มักจะ
ใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณที่ไม่ซับซ้อน และให้ภาพรวมที่ใช้ประโยชน์ได้ในกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ หรือ
กลมุ่ ประชากร
ในข้ันน้ี จะขอปรับประยุกต์บางส่วนของข้ันตอนการตีความข้อมูลของ ณรงค์ โพธิ์พฤกษานันท์
(2556) และอธบิ ายควบค่ไู ปกับตวั อยา่ งงานวิจัยการสื่อสารชมุ ชนที่ใชว้ ธิ ีวทิ ยาเชิงปริมาณ คอื เร่อื ง The
Globalised Village: Grounded Experience, Media and Response in Eastern Thailand (Chan-
rungmaneekul, 2009)
ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลการสื่อสารชมุ ชน อิงการวิจัยเชงิ ปรมิ าณ
ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์จุดมุ่งหมายหรือสมมติฐานการวิจัย ทง้ั นี้เพอ่ื ใหแ้ น่ใจวา่ ค�ำถามวจิ ยั หรอื
โจทย์วิจัยคืออะไร มีตัวแปรอะไรบ้าง และต้องการข้อมูลอะไรบ้าง หากในงานวิจัยน้ันมุ่งเน้นวิธีวิทยาเชิง
คณุ ภาพเปน็ หลกั อาจจะไมไ่ ดก้ ำ� หนดสมมตฐิ านการวจิ ยั ไวช้ ดั เจน ดงั นนั้ นกั วจิ ยั จะตอ้ งวเิ คราะหท์ งั้ คำ� ถาม
วจิ ยั หรอื โจทยว์ จิ ยั และวตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั ใหด้ ี ยกตวั อยา่ ง ในงานวจิ ยั เรอื่ ง The Globalised Village:
Grounded Experience, Media and Response in Eastern Thailand (Chanrungmaneekul, 2009)
วัตถุประสงคข์ อ้ แรก ระบวุ า่ เพือ่ ศึกษากระบวนการและคา่ นิยมส�ำคญั ของโลกาภวิ ัตน์ และอุตสาหกรรมท่ี
ปรากฏบนส่อื กระแสหลกั ยอดนยิ มของชุมชน
เม่ือวัตถุประสงค์งานวิจัยข้อแรก ต้องการหา ค่านิยมส�ำคัญ และการน�ำเสนอของส่ือที่เกี่ยวกับ
โลกาภิวัตน์และอุตสาหกรรม การวิเคราะห์ข้อมลู จึงตอ้ ง “ตั้งหลกั ” พิจารณาดวู า่ ขอ้ มลู ตวั เลขมากมายที่
นกั วิจยั ไดม้ าน้นั จะมีส่วนใดบ้างทเี่ กยี่ วขอ้ งและสามารถนำ� มาวเิ คราะห์ หาความสัมพนั ธ์ และเชอ่ื มโยงจน
ตอบวัตถุประสงค์ในขอ้ นไ้ี ด้
ขั้นตอนที่ 2 ตรวจสอบข้อมูล นักวิจัยต้องตรวจสอบว่า ค�ำตอบหรือข้อมูลที่ได้มาน้ันครบถ้วน
ถูกต้อง ตามที่ต้องการหรือไม่ ปัญหาที่เจอในขั้นตอนนี้ มักพบว่าเม่ือให้กลุ่มตัวอย่างหรือผู้ตอบ
แบบสอบถามกรอกค�ำตอบเอง เมอ่ื รับแบบสอบถามกลบั มาจะพบวา่ หลายคนกรอกไม่ครบถ้วนหรือกรอก
ไมต่ รงตามความจรงิ เนอ่ื งจากไมเ่ ขา้ ใจคำ� ถามบา้ ง หรอื ตง้ั ใจปดิ บงั ความจรงิ เพราะสาเหตหุ ลายประการ เมอื่
เปน็ เชน่ น้ี นกั วจิ ยั ควรจะตรวจสอบแบบสอบถาม หรอื เครอ่ื งมอื ทใี่ ชท้ กุ ครง้ั เมอ่ื ไดร้ บั กลบั มาทนั ที และหาก
สามารถแก้ไขโดยใหก้ ล่มุ ตวั อยา่ งตอบใหค้ รบถ้วนถกู ต้องไดใ้ ห้รีบกระท�ำโดยทนั ที หากไม่สามารถท�ำเช่น
น้นั ได้ ใหเ้ ผอ่ื จำ� นวนกลุ่มตัวอยา่ งเพอ่ื ให้การรวบรวมข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์
ข้ันตอนที่ 3 เลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ นกั วจิ ยั ตอ้ งทบทวน “คำ� ถามวจิ ยั หรอื ปญั หาวจิ ยั ” และ
วัตถุประสงค์การวิจัย ให้ถ่องแท้อีกคร้ัง เพื่อพิจารณาว่าจะใช้สถิติประเภทใดในการวิเคราะห์ เช่น หาก
ตอ้ งการศกึ ษาตวั แปรเดยี ว เพอื่ หาคา่ ความถ่ี กเ็ ลอื กใชส้ ถติ เิ ชงิ พรรณนาประเภทรอ้ ยละ เชน่ จากงานวจิ ยั