Page 40 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 40
7-30 การศึกษาชมุ ชนเพือ่ การวจิ ยั และพัฒนา
เร่ือง The Globalised Village: Grounded Experience, Media and Response in Eastern
Thailand (Chanrungmaneekul, 2009) มีส่วนท่ีต้องวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อตอบวัตถุประสงค์
ข้อท่ีหน่ึง คือ การเปิดรับส่ือกระแสหลักและส่ือชุมชนว่ามีมากน้อยเพียงใด แตกต่างกันหรือไม่ในแต่ละ
กลมุ่ ชว่ งอายุ และกลมุ่ คนด้ังเดมิ และคนใหม่ทีอ่ พยพเข้ามาหลัง พ.ศ. 2524
สถิติที่เลือกจึงเป็นการหาค่าร้อยละว่าจ�ำนวนผู้ที่ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับการเปิดรับสื่อแต่ละ
กลมุ่ มีมากนอ้ ยแตกตา่ งกันอย่างไร เป็นสถติ ิเชงิ พรรณนาด้วยการหาคา่ ร้อยละ
ข้ันตอนที่ 4 ค�ำนวณสถิติ ปัจจุบันนี้นักวิจัยสามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการค�ำนวณทาง
สถติ ิ อย่างไรกต็ าม นกั วจิ ยั และนักสถติ อิ าจจะไม่จำ� เปน็ ต้องเป็นคนเดียวกนั เสมอไป เพราะนักวิจัยอาจจะ
ไมไ่ ดม้ คี วามรคู้ วามเชย่ี วชาญทางสถติ ิ ในขน้ั ตอนนนี้ กั วจิ ยั สามารถทำ� งานรว่ มกบั นกั สถติ ิ หรอื ใชโ้ ปรแกรม
การคำ� นวณ เช่น spss เพอ่ื หาคา่ ประมวลผลได้
นักวิจัยสามารถหารือ หรือขอความช่วยเหลือจากนักสถิติที่เก่งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการ
คำ� นวณ โดยบอกวัตถปุ ระสงคข์ องงานวิจยั และพยายามหาคำ� ตอบใหโ้ จทย์วิจยั หรือวัตถปุ ระสงคง์ านวจิ ยั
ข้ันตอนที่ 5 การน�ำเสนอผลการวิเคราะห์ การวิจัยเชิงปริมาณเม่ือประมวลผลออกมาแล้ว ก็ยัง
พบวา่ เปน็ กองตวั เลขขนาดใหญ่ เพยี งแตว่ า่ ถกู จดั ระบบและผา่ นการค�ำนวณทางวทิ ยาศาสตรจ์ นไดค้ า่ ใหม่
ทนี่ า่ เชอ่ื ถอื ออกมา แตผ่ ทู้ ไี่ มไ่ ดท้ ำ� วจิ ยั หรอื ผอู้ า่ นทว่ั ไปกไ็ มส่ ามารถเขา้ ใจคา่ ของตวั เลขทปี่ ระมวลทางสถติ ิ
อยู่ดี ดงั นนั้ การน�ำเสนอผลการวเิ คราะห์จึงต้องถกู “ตคี วาม” เพ่อื สามารถตอบคำ� ถามการวจิ ัยหรอื ตอบ
ให้ตรงตาม “วัตถุประสงค์” การวิจัย โดยน�ำเสนอเป็นรูปแบบต่างๆ ท่ีเข้าใจได้ง่าย เช่น กราฟ ตาราง
แผนภมู ิ และกราฟกิ ประเภทต่างๆ ดงั ตวั อยา่ งต่อไปนี้
กลุ่ม สื่อที่นิยมเปิดรับมากที่สุด
1. วัยรนุ่ กลุ่มคนด้ังเดิม ขา่ วเย็นช่อง 3
2. วยั รุน่ กลมุ่ คนใหม่
3. วยั ทำ� งานคนดัง้ เดิม ข่าวเยน็ ชอ่ ง 7
4. ผสู้ งู อายุคนดงั้ เดิม
5. วัยท�ำงานคนใหม่ เร่ืองเลา่ เช้านี้ ชอ่ ง 3
6. ผสู้ งู อายุคนใหม่
คนด้งั เดิม หมายถึง ประชากรที่เข้ามาอาศยั ในชมุ ชนก่อน พ.ศ. 2524
คนใหม่ หมายถงึ ประชากรทเ่ี ข้ามาอาศยั ในชุมชนก่อน พ.ศ. 2524