Page 44 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 44
7-34 การศกึ ษาชมุ ชนเพ่อื การวิจัยและพฒั นา
3) ตรวจสอบในขั้นตอนสุดท้ายของวิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ เมอื่ ไดค้ า่ ประมวลผลออกมา
แลว้ โปรแกรมการค�ำนวณทางสถติ ใิ นปัจจบุ ันสามารถสรา้ งแผนภูมิ และกราฟเพื่อนำ� เสนอขอ้ มลู ได้ทนั ที
อย่างรวดเร็ว การตรวจสอบในขั้นตอนสุดท้ายนี้คือ การแปลความหมายและอธิบายความหมายได้อย่าง
ถกู ตอ้ ง สามารถตอบคำ� ถามตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั โดยแยกแยะใหเ้ หน็ ถงึ ความสำ� คญั ของตวั แปรตา่ งๆ
และหากพบตัวแปรใหม่ท่ีไม่ได้คาดคิดมาก่อน หรือผลออกมาไม่ตรงกับสมมติฐาน นักวิจัยต้องมีความ
ซอ่ื สัตย์พอทีจ่ ะอธบิ าย “ขอ้ จ�ำกัด” และเสนอแนะ “ข้อท่ีควรทำ� ให้สมบูรณ์” ในสว่ นงานวิจัยในอนาคต ที่
ส�ำคัญ การตรวจสอบข้อมูลในขั้นตอนน้ี ต้องไม่ใช่การเปล่ียนข้อมูลเพ่ือต้องการให้สอดรับกับสมมติฐาน
หรือที่เรียกว่า “เล่นแร่แปรธาตุ” จนงานวิจัยน้ันไม่ได้อยู่บนพื้นฐานข้อเท็จจริง ซ่ึงถือว่า ผิดจริยธรรม
การวิจัย
4) ตรวจสอบในข้ันตอนของภาพรวมงานวิจัยท้ังหมด ถึงที่สดุ แล้ว นกั วิจัยต้องตระหนักว่า วิธี
วจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ เปน็ เพยี งวธิ วี ทิ ยาประเภทหนง่ึ ทม่ี ขี อ้ จำ� กดั ในการสบื คน้ ความจรงิ เชน่ ไมส่ ามารถเจาะลกึ
ไปถึงสาเหตุท่ีแท้จริงของปรากฏการณ์ในเชิงนามธรรมได้ หรือไม่สามารถสืบค้นสาเหตุหรือล�ำดับความ
สมั พนั ธข์ องส่งิ ตา่ งๆ ท่ซี บั ซ้อนมากๆ ของชมุ ชนได้ รวมท้ังไมส่ ามารถคน้ หา “ความรูส้ ึกนึกคดิ อารมณ์
ความเชื่อ ค่านิยม ความศรัทธา” ที่มีความหลากหลายทับเหลื่อมกันของมนุษย์และของชุมชนอย่างเห็น
ความตอ่ เนอ่ื งและพัฒนาการได้ ดังนั้น เมอื่ ไดผ้ ลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริมาณแล้ว ควรจะตรวจสอบผล
หรอื ขยายความลมุ่ ลกึ โดยใชว้ ธิ กี ารวจิ ยั อนื่ ๆ ประกอบไปดว้ ย เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลการวจิ ยั ทมี่ คี วามเทยี่ งและความ
ตรงมากทส่ี ดุ
กิจกรรม 7.2.3
ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณของการวิจัยการสื่อสารชุมชน นักศึกษาควรตรวจสอบข้อมูลใน
ขั้นตอนใดบ้าง จงอธบิ ายพอสังเขป
แนวตอบกิจกรรม 7.2.3
ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชงิ ปรมิ าณของการวจิ ยั การสอ่ื สารชมุ ชน ควรตรวจสอบขอ้ มลู สข่ี น้ั ตอน คอื
1) ตรวจสอบในข้ันเตรียมข้อมูลเบื้องต้น เพื่อส�ำรวจข้อมูลโดยทั่วไปจาก “เคร่ืองมือ” เช่น
แบบสอบถามว่ามคี วามครบถว้ น ถกู ต้อง และเป็นเหตุผลสอดรบั กนั หรือไม่ เปน็ ตน้
2) ตรวจสอบในขั้นกรอกข้อมูลเพ่ือค�ำนวณทางสถิติ เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของการลง
รหัส และการบันทกึ ขอ้ มลู เขา้ สู่เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ นักวจิ ยั ต้องตรวจสอบความถูกต้องของทุก “ตวั แปร”
ทีถ่ กู ก�ำหนดรหสั
3) ตรวจสอบในขน้ั ตอนสดุ ทา้ ยของวธิ วี เิ คราะหข์ อ้ มลู เชงิ ปรมิ าณ เมอ่ื ไดค้ า่ ประมวลผลออกมาแลว้
โปรแกรมการค�ำนวณทางสถิติในปัจจุบันสามารถสร้างแผนภูมิ และกราฟเพ่ือน�ำเสนอข้อมูลได้ทันทีอย่าง
รวดเรว็ การตรวจสอบในขน้ั ตอนสดุ ทา้ ยน้ีคอื การแปลความหมายและอธบิ ายความหมายไดอ้ ย่างถกู ต้อง
สามารถตอบคำ� ถามตามวัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั
4) ตรวจสอบในขนั้ ตอนของภาพรวมงานวจิ ยั ทงั้ หมด ถงึ ทส่ี ดุ แลว้ นกั วจิ ยั ตอ้ งตระหนกั วา่ วธิ วี จิ ยั
เชิงปริมาณ เป็นเพียงวิธวี ทิ ยาประเภทหนง่ึ ทม่ี ีขอ้ จ�ำกัดในการสบื คน้ ความจรงิ