Page 49 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 49

การวเิ คราะห์ขอ้ มูลการวิจัยการสื่อสารชุมชน 7-39

เรื่องที่ 7.3.2
ข้ันตอนการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยการสื่อสารชุมชน
อิงการวิจัยเชิงคุณภาพ

       ในหัวเรอ่ื งน้ี จะแบ่งเป็นสองช่วง โดยช่วงแรกจะกล่าวถึงขัน้ ตอนของการวิเคราะหข์ อ้ มูลการวจิ ยั
เชิงคณุ ภาพโดยท่ัวไป และชว่ งท่สี อง จะเนน้ ไปที่การวิเคราะหข์ อ้ มลู เชงิ คณุ ภาพของ “การวจิ ยั การสื่อสาร
ชมุ ชน” พรอ้ มตัวอย่างประกอบ

       ช่วงท่ีหน่ึง
       ขนั้ ตอนการวเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยทัว่ ไป ของการวิจัยเชิงคณุ ภาพ มีทง้ั หมด 4 ขน้ั ตอนดังนี้
       1.	 การจัดการขอ้ มูลและตรวจสอบเบอ้ื งตน้
       2.	 การทำ� ดัชนีขอ้ มลู และการก�ำจัดข้อมลู
       3.	 การสร้างข้อสรุปชว่ั คราว
       4.	 การสร้างขอ้ สรปุ และพิสจู นข์ อ้ สรปุ
       ข้ันตอนท่ี 1 การจัดการข้อมูลและตรวจสอบเบ้ืองต้น
       ในขั้นตอนแรกคือ การจัดการข้อมูลโดยตรวจสอบข้อมูลก่อนท่ีจะมีการวิเคราะห์ที่น�ำไปสู่ข้อสรุป
สำ� คญั ของงานวจิ ยั นอกจากนี้ ระหวา่ งการเกบ็ ขอ้ มลู สามารถทำ� ขน้ั ตอนนไี้ ดเ้ ชน่ กนั ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะพเิ ศษ
ของการวิจยั เชิงคุณภาพที่ข้นั ตอนต่างๆ มกั จะเกิดขน้ึ วนเวยี น สลบั กนั ไปมา จนกว่าจะไดข้ อ้ มลู ทม่ี ีความ
เชอ่ื ถอื ได้ ครบถว้ น และมคี ณุ ภาพมากพอทจี่ ะนำ� ไปวเิ คราะห์ เพอื่ ตอบคำ� ถามการวจิ ยั ได้ (สภุ างค์ จนั ทวานชิ ,
2546)
       ลักษณะการตรวจสอบข้อมูล มีสองประเภท คือ 1) ตรวจสอบความเชื่อถือได้ของข้อมูล และ
2) ตรวจสอบความครบถ้วนและคุณภาพของขอ้ มูล (สุภางค์ จนั ทวานิช, 2546)

            1) ตรวจสอบความเช่ือถือได้ของข้อมูล
            ปกติในการท�ำวิจัย ท้ังในวิธีเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ “ความเชื่อถือได้” ของข้อมูลเป็น
เรอ่ื งสำ� คญั มาก เพราะหมายถงึ ความเทยี่ งตรงของงานวจิ ยั ทจี่ ะ “เขา้ ถงึ ” ความจรงิ “ตามทเี่ ปน็ จรงิ ” มใิ ช่
แค่ข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมมาอย่างผิวเผิน มีความล�ำเอียง ไม่ครบถ้วน และมีข้อสรุปที่ตีความตาม “ความ
ผิวเผิน” และอคติ หรือความชอบ ไมช่ อบของนกั วจิ ัย
            ย่ิงเป็นการวิจัยคุณภาพด้วยแล้ว ยิ่งมีค�ำถามที่ท้าทายหรือมี “จุดอ่อน” ที่มักถูกโจมตีอยู่
เสมอวา่ เช่อื ถือไดม้ ากน้อยแคไ่ หน ทัง้ นเ้ี พราะเหตผุ ล 4 ประการคือ
            ประการท่ีหน่ึง ข้อมูลท้ังหลายไม่ได้ทดสอบค่าทางสถิติเพ่ือหาค่าความเช่ือถือได้ของ
เคร่ืองมือ ข้อมูลที่ได้จะเป็นลักษณะอัตตวิสัยปะปนมา เพราะเป็นเรื่องของค่านิยม ความเชื่อ อุดมการณ์
ความคดิ ความรสู้ กึ ทศั นคติ มุมมอง ทเ่ี ปล่ยี นแปลงตามแตเ่ ง่อื นไขปรากฏการณ์ การหาคา่ ทางสถิตเิ ป็น
เร่อื งทท่ี ำ� ไดย้ าก จงึ น�ำไปสู่ข้อวิจารณก์ ารวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพวา่ ขอ้ มลู อาจจะไมเ่ ป็นกลางได้
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54