Page 50 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 50
7-40 การศกึ ษาชมุ ชนเพือ่ การวิจยั และพัฒนา
ประการที่สอง ไม่มีเครื่องมือส�ำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ชัดเจนเป็นแบบแผน ต่างจาก
วิธีการเชิงปรมิ าณ ทีอ่ าจจะใชแ้ บบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์ และขอ้ มลู ทางสถิติตา่ งๆ
ประการทสี่ าม การเกบ็ ขอ้ มลู อาจเกบ็ จากกลมุ่ ตวั อยา่ งจำ� นวนนอ้ ย หรอื เกบ็ เพยี งหนงึ่ ชมุ ชน
ซง่ึ มกั ถกู โจมตวี า่ ไมอ่ าจนำ� มากลา่ วอา้ งถงึ ความจรงิ ทว่ั ไปได้ และไมอ่ าจเปน็ ตวั แทนประชากรทแี่ ทจ้ รงิ ได้
ประการทส่ี ่ี ตวั นกั วจิ ยั เปน็ “เครอื่ งมอื ” ส�ำคญั ในการเกบ็ ขอ้ มลู และวเิ คราะหข์ อ้ มลู จงึ อาจ
เกดิ ความล�ำเอียงตา่ งๆ ในการวเิ คราะห์ข้อมลู (สุภางค์ จันทวานิช, 2546)
เม่ือเป็นเช่นนี้ นักวิจัยท่ีท�ำงานกับข้อมูลลักษณะน้ี จ�ำเป็นต้องแก้ไขจุดอ่อนนั้น ให้การ
วเิ คราะหเ์ กดิ ความน่าเชอ่ื ถือได้ ซ่ึงในขน้ั เตรยี มการวเิ คราะหข์ อ้ มลู น้ี สามารถทำ� ได้ 3 รปู แบบ ไดแ้ ก่
รูปแบบท่ีหนึ่ง การวิเคราะห์ข้อมลู บนพน้ื ฐาน การพรรณนาบริบทอยา่ งละเอียดตาม
วธิ กี ารทางชาตพิ รรณวรรณนา (ethnography) เพอื่ ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ วา่ ไมไ่ ดเ้ กดิ จากการเกบ็ ขอ้ มลู ผวิ เผนิ
วธิ กี ารตรวจสอบความเชอ่ื ถอื ไดข้ องขอ้ มลู ซงึ่ เปน็ พนื้ ฐานทสี่ ำ� คญั มากสำ� หรบั การวจิ ยั
เชิงคณุ ภาพ และการวิจัยการส่อื สารชุมชน น่นั คือ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู บริบทของพ้ืนท่ที �ำการวิจยั หรือ
ชุมชนที่เราเข้าไปศึกษาให้ละเอียดทุกแง่มุม ท้ังข้อมูลกายภาพ วัฒนธรรม โครงสร้างของสังคม สถาบัน
และกลมุ่ ตา่ งๆ ยง่ิ หากสามารถเกบ็ ไดล้ ะเอยี ดเหน็ ถงึ ความเชอ่ื มโยงซง่ึ กนั และกนั และเชอ่ื มโยงไปถงึ ปญั หา
การวิจัยได้จะย่ิงมีนํ้าหนักมาก เมื่อเวลาน�ำเสนอข้อมูล ต้องน�ำเสนอข้อมูลจากการวิเคราะห์บริบทเหล่าน้ี
เปน็ พ้ืนฐาน แล้ววิเคราะหห์ าผลหรอื เชอ่ื มโยงขอ้ สรปุ ไปยังคำ� ถามน�ำวจิ ยั
ความจรงิ แลว้ การศกึ ษาบรบิ ทชมุ ชนหรอื พน้ื ทที่ ำ� การวจิ ยั อยา่ งละเอยี ด และใชเ้ วลานาน
เป็นจุดแข็งของการวิจัยเชิงคุณภาพ เพราะการท่ีนักวิจัยใช้เวลานานในสังคมใดสังคมหน่ึง มีการเจาะลึก
ข้อมูลรอบด้าน จนซึมซับความเข้าใจท่ีคนนอกไม่เข้าใจ เหมือนกับการสามารถค้นหาตัวแปรต้นได้ระดับ
หนึง่ แลว้ ซงึ่ เปน็ จุดแขง็ ที่นักวิจยั เชิงปริมาณไมน่ ิยมทำ�
รปู แบบทสี่ อง เมอ่ื ไดข้ อ้ มลู มาแลว้ กอ่ นทจ่ี ะวเิ คราะหข์ อ้ มลู ใหน้ ำ� ขอ้ มลู เหลา่ นน้ั ไปให้
ผใู้ หข้ อ้ มลู หลกั ซง่ึ เปน็ “คนใน” ไดอ้ า่ น เพอื่ ขอใหต้ รวจสอบวา่ นกั วจิ ยั เขา้ ใจอะไรผดิ หรอื ไม่ และขอใหช้ แ้ี นะ
มมุ มองใหมๆ่ ทน่ี กั วจิ ยั ไมไ่ ดม้ อง วธิ นี เี้ ปน็ การ “ตรวจสอบ” ความลำ� เอยี ง และความไมร่ ขู้ องนกั วจิ ยั เอง
“โดยคนใน”
รูปแบบที่สาม การตรวจสอบสามเส้า (Triangulation) ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ทั้ง
วธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู ทแี่ ตกตา่ งไปจากเดมิ (Methodological triangulation) การตรวจสอบโดยใชแ้ หลง่ ขอ้ มลู
ท่ีแตกต่างกัน (Data triangulation) และการตรวจสอบท่ีใช้คนเก็บข้อมูลแตกต่างกัน (Investigator
triangulation) แตล่ ะแบบมีรายละเอยี ดการตรวจสอบดงั นี้
วิธีการตรวจสอบด้วยการใช้ “วิธีการ” เก็บข้อมูลที่แตกต่างไปจากเดิม ทำ� ไดโ้ ดยการ
ใช้วิธีการเก็บข้อมูลคร้ังท่ีหนึ่ง ครั้งท่ีสอง และคร้ังที่สาม ท่ีแตกต่างกัน เช่น คร้ังแรกเก็บข้อมูลโดยการ
สมั ภาษณ์ โดยผใู้ หส้ มั ภาษณ์ ใหข้ อ้ มลู วา่ ไมเ่ คยดลู ะครหลงั ขา่ วเลยเพราะไมช่ อบ เปน็ ละครนา้ํ เนา่ ตอ่ มา
นกั วจิ ยั ใชว้ ธิ ตี รวจสอบอกี ครงั้ เพอ่ื ดวู า่ ขอ้ เทจ็ จรงิ เปน็ อยา่ งไร จงึ ใชว้ ธิ ที ส่ี อง คอื การสงั เกตการณใ์ นฐานะแขก
ก็พบว่า ข้อมลู ที่ได้ตรงขา้ มกับครั้งแรกอย่างสนิ้ เชิง เพราะพบว่า การรับสารของบ้านนี้ มีการเปดิ รับละคร
หลังข่าว ต่อมาเพ่ือค้นหาว่า ครั้งแรกและครั้งที่สองมีเงื่อนไขแตกต่างกันอย่างไร นักวิจัยจึงใช้วิธี เข้า