Page 53 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 53

การวเิ คราะหข์ ้อมูลการวิจยั การสื่อสารชุมชน 7-43
       ข้ันตอนท่ี 2 การท�ำดัชนีข้อมูล (Indexing)
       ในข้ันตอนท่สี อง อาจเรยี กว่าเปน็ การสร้างรหสั ใหข้ อ้ มลู (coding) กไ็ ด้ การสร้างรหัสใหข้ อ้ มลู
คอื การสรา้ งคำ� และกลมุ่ คำ� ขน้ึ มา เพอื่ มาใชท้ ำ� ดชั นใี หก้ บั ขอ้ มลู ทน่ี กั วจิ ยั เกบ็ รวบรวมมา เหตทุ ตี่ อ้ งทำ� รหสั
ใหก้ บั ขอ้ มลู กเ็ พราะวา่ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู นนั้ เมอื่ ถงึ เวลาหนงึ่ จะมจี ำ� นวนมาก และกระจดั กระจาย โดย
ไมร่ วู้ ่าแต่ละส่ิงทน่ี กั วจิ ยั บันทึกมา ในรูปของบนั ทึกสนาม การถอดเทปสมั ภาษณ์ และขอ้ มลู เอกสารตา่ งๆ
นนั้ มเี นอ้ื หาวา่ อยา่ งไร มนี ยั อะไร มคี วามหมายตคี วามไดว้ า่ อยา่ งไรบา้ ง นกั วจิ ยั ไมส่ ามารถจดจำ� ไดท้ ง้ั หมด
เมื่อถึงเวลาที่ต้องน�ำมาวิเคราะห์สร้างข้อสรุป ก็หาไม่พบและหยิบมาใช้ได้ไม่หมด ทั้งที่ทุ่มเทเวลา
งบประมาณ และแรงกายแรงใจ เกบ็ ขอ้ มูลมาเปน็ เวลานาน
       การท�ำดัชนี หรือสร้างรหัสข้อมูล เป็นขั้นตอนส�ำคัญท่ีจะแบ่งแยกข้อมูลออกเป็นส่วนย่อย แล้ว
กำ� หนดคำ� หรอื กลมุ่ คำ� ทม่ี คี วามหมายกระชบั สามารถจบั ความหมายสำ� คญั ในขอ้ มลู ยอ่ ยสว่ นนนั้ ๆ ได้ ซงึ่
การจะทำ� ขน้ั ตอนนไ้ี ด้ ตอ้ งอาศยั “ระบบการแบง่ แยกขอ้ มลู ” ออกเปน็ หมวดหมู่ หรอื ออกเปน็ กลมุ่ แนวคดิ
(conceptual category) ทนี่ กั วจิ ยั พฒั นาขน้ึ (องอาจ นยั พฒั น,์ 2551) เพอ่ื นำ� มาสรา้ งคำ� หรอื กลมุ่ คำ� เพอ่ื
จดั ทำ� รหสั
       ปญั หาในขน้ั ตอนนคี้ อื นกั วจิ ยั จะสรา้ งคำ� หรอื กลมุ่ คำ� ดชั นี ไดอ้ ยา่ งไร Mcmillan & Schumacher
(1997) กล่าวว่า นกั วจิ ยั สามารถอาศยั แนวคิดในการพฒั นา ระบบการแบง่ แยกข้อมลู เพอ่ื เป็นแนวทางใน
การสร้างรหสั จาก 5 แหล่งส�ำคญั ได้แก่
       1. 	ประเดน็ คำ� ถามหลกั หรอื คำ� ถามยอ่ ยของการวจิ ยั ทเ่ี ขยี นแยกแยะมาจากหวั ขอ้ หรอื โจทยป์ ญั หา
การวจิ ัย
       2. 	เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั อาทิ แบบสัมภาษณ์
       3. 	ประเด็นหลกั แนวคิด หรอื มโนทัศน์ หรอื กลุ่มข้อสรปุ แนวคิดทสี่ รา้ งขึน้ จากนกั วจิ ยั กอ่ นหน้า
       4. 	ความรู้เดิม หรอื แนวคิดทฤษฎีท่ีนักวจิ ยั ได้ศกึ ษามาแล้ว
       5. 	เนอื้ หาสาระทอ่ี ยใู่ นขอ้ มลู (Mcmillan & Schumacher, 1997 อา้ งใน องอาจ นยั พฒั น,์ 2551)
       ตัวอย่างการสร้างค�ำและกลุ่มค�ำ โปรดดูที่ช่วงท่ีสอง ซึ่งเน้นไปที่การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยการ
ส่ือสารชุมชน
       ในส่วนขั้นตอนการท�ำดัชนี สภุ างค์ จันทวานิช (2546) ไดร้ ะบไุ ว้ 5 ขั้นตอน ดงั น้ี
       ขั้นที่หน่ึง ช่วงก่อนการเก็บข้อมูล ให้เตรียมสร้างค�ำดัชนี โดยท�ำเป็นบัญชีหางว่าวไว้ อาจมีค�ำ
มากมายหลายสบิ คำ� คำ� เหลา่ นก้ี น็ ำ� มาจาก “ระบบการแบง่ แยกขอ้ มลู ” 5 ประเภทตามทก่ี ลา่ วมาแลว้ เชน่
มาจากกรอบทฤษฎีต่างๆ หรอื มาจากปญั หาการวิจยั เป็นตน้
       ขั้นท่ีสอง เมื่อเข้าสู่ช่วงการเก็บข้อมูล ให้น�ำบัญชีค�ำดัชนีท่ีท�ำไว้มาปรับปรุง เพราะนักวิจัยจะได้
มมุ มองต่างๆ ทแ่ี ตกตา่ งจากชว่ งกอ่ นการเก็บขอ้ มูล การใช้คำ� ทแี่ ตกตา่ งออกไปของ “คนใน” เช่น คำ� วา่
“โลกาภิวัตน์” ชาวบ้านจะใช้ค�ำว่า “ความเจริญ” หรือบางคนใช้ค�ำว่า “เจริญแต่วัตถุ” ซ่ึงนักวิจัยต้อง
ทำ� ความเข้าใจและเติมดัชนเี หล่าน้ีเข้าไป
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58